Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19769
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนม คลี่ฉายา-
dc.contributor.authorณัฐกานต์ รอดหิรัญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-05-20T07:50:44Z-
dc.date.available2012-05-20T07:50:44Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19769-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractสำรวจระดับความรู้ในงานประชาสัมพันธ์ของนักการตลาด และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการนำการประชาสัมพันธ์ไปใช้ในการตลาด กับความสำเร็จทางการตลาด และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงานทางการตลาด ของนักการตลาดกับความรู้ในงานประชาสัมพันธ์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานทุกระดับชั้นของบริษัทที่ทำงานในสายงานการตลาด หรือในฝ่ายที่มีหน้าที่รับผิดชอบงานการตลาด ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล เป็นจำนวน 400 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า 1. ความรู้ในงานประชาสัมพันธ์ของนักการตลาดอยู่ในระดับสูง นอกจากนี้ ระดับความรู้ในงานประชาสัมพันธ์ของนักการตลาด ไม่มีความสัมพันธ์กับระดับการศึกษาของนักการตลาด แต่มีความสัมพันธ์กับประสบการณ์การทำงานทางการตลาดในระดับต่ำมาก และเป็นความสัมพันธ์แบบผกผัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. ความถี่ในการใช้เครื่องมือประชาสัมพันธ์ทางการตลาดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาในรายละเอียด พบว่าเครื่องมือประชาสัมพันธ์ที่มีความถี่ในการใช้อยู่ในระดับมาก ได้แก่ โบรชัวร์/ใบปลิว เว็บไซต์ การจัดประชุม/สัมมนา อีเมล โปสเตอร์ ภาพข่าวทางหนังสือพิมพ์ นิตยสาร และการจัดงานนิทรรศการ นอกจากนี้ยังพบว่า ความถี่ในการใช้เครื่องมือประชาสัมพันธ์ทางการตลาด มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จทางการตลาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และเป็นความสัมพันธ์ในระดับต่ำ 3. ในบริษัทที่เป็นกลุ่มตัวอย่างพบว่า มีรูปแบบความเกี่ยวข้องกันระหว่างการประชาสัมพันธ์และการตลาด เป็นลักษณะฝ่ายประชาสัมพันธ์อยู่ในฝ่ายการตลาดมากที่สุด และพบว่ามีความสัมพันธ์กับความสำเร็จทางการตลาด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en
dc.description.abstractalternativeTo examine public relations knowledge among marketers, to explain correlation between the implementation of marketing public relation tools and marketing success and to explain correlation between public relations knowledge and level of education and marketing experience of marketers. This research is a survey research and uses questionnaire for data collecting. The 400 marketers, whose jobs are related to marketing, are selected as samples. The results reveal that the marketers have the high level of public relations knowledge. The hypothesis testing result shows that public relations knowledge are not correlate with the level of education; however, it correlate with marketing experience in the lowest level and is reversed variation, at the 0.01 significant levels. The tools that are mostly used including; brochure/ leaflet, website, meeting/seminar, e-mail, poster, news photo in newspaper and magazine, and exhibition. In addition, the results indicate that public relations function as a section in marketing department is mostly finding in the companies, and also correlate with the marketing success, at the 0.01 significant levels.en
dc.format.extent2082311 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1741-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประชาสัมพันธ์en
dc.subjectการจัดการตลาดen
dc.subjectPublic relations-
dc.subjectMarketing -- Management-
dc.titleความรู้ในงานประชาสัมพันธ์และการนำไปใช้เพื่อความสำเร็จทางการตลาดen
dc.title.alternativePublic relations knowledge and implementation for marketing successen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPhnom.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1741-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Natthakant_ro.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.