Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1981
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.advisorสาลี่ สุภาภรณ์-
dc.contributor.authorสุจิรา วิเชียรรัตน์, 2520--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-19T06:46:12Z-
dc.date.available2006-08-19T06:46:12Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9745313149-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1981-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองกลุ่มเดียววัดแบบอนุกรมเวลามีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างของสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลก่อนฝึกโยคะรวมกับกระบวนการกลุ่ม หลังฝึกโยคะสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2547 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด จำนวน 30 คน เข้าร่วมโปรแกรมเป็นเวลา 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการฝึกโยคะร่วมกับกระบวนการกลุ่มที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากความรู้เรื่องโยคะ และกระบวนการกลุ่มของ Marram (1978) โปรแกรมประกอบด้วย 3 ขั้นตอนคือ (1) สร้างสัมพันธภาพ (2) ดำเนินการ ประกอบด้วย การให้ความรู้เรื่องสมรรณภาพทางกายและโยคะ การปฏิบัติโยคะ (3) สิ้นสุดกลุ่มโดยมีแผนการสอนให้ความรู้เรื่องสมรรถภาพทางกาย และโยคะ และคู่มือการฝึกโยคะเป็นสื่อที่ใช้ในโปรแกรม ซึ่งผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมและความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลคือ เครื่องมือวัดสมรรถภาพทางกายโดยผ่านการตรวจสอบจากโรงงานผู้ผลิตซึ่งกำหนดขั้นตอนไว้เป็นมาตรฐานทุกครั้งและทำการทดสอบความเที่ยงก่อนนำไปใช้กับนักศึกษาพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวแบบวัดซ้ำ และเปรียบเทียบความแตกต่างรายคู่ด้วยสถิติ Bonferroni ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สมรรถภาพทางกายด้านรอบเอว เปอร์เซ็นต์ไขมัน ความดันโลหิตชีสโตลิค ของนักศึกษาพยาบาลหลังฝึกโยคะสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 ลดลงกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. สมรรถภาพทางกายด้าน ความอ่อนตัว แรงบีบมือ ความแข็งแรงของขา ความแข็งแรงของหลัง และความจุปอด ความดันโลหิตซีสโตลิค ของนักศึกษาพยาบาลหลังฝึกโยคะสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 เพิ่มขึ้นกว่าก่อนฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 3. สมรรถภาพทางกายด้าน น้ำหนัก รอบสะโพก ดัชนีมวลกาย ความดันไดแอสโตลิค และชีพจร ก่อนและหลังฝึกโยคะสัปดาห์ที่ 4 8 และ 12 ไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThis quasi-experimental study, a one group time series design, explored the effect of yoga practice combined with a group process program on physical fitness of nursing students. A purposive sample of 30 female freshman students was recruited from Boromarajonani College of Nursing, Nonthaburi. The purpose of this study was to compare physical fitness before and after the 4th, 8th, and 12th weeks of a comination training of yoga and group process. The yoga program was developed by the researcher and the group process was based on Marram's concept (Marram, 1978). The yoga practice combined with group process program consists of 3 phases; introduction, providing knowledge, and closure. Data were analyzed through descriptive statistics, calculating mean and standard deviation. In addition, one way analysis of variance with repeated measure and a Bonferroni post hoc test were also calculated. Results revealed as follow:1. Participant's waist, body fat and systolic pressure after the 4th, 8th, and 12th weeks of training were significantly decreased (p= .05) compared to before training. 2. Flexibility, hand-grip strength, leg and back strength, and vital capacity significantly increased (p= .05) after the 4th, 8th, and 12th weeks of training compared to before training. 3. There were no significant differences in body weight, hip circumference, body mass index, diastolic pressure and heart rate before and after the 4th, 8th, and 12th weeks of training.en
dc.format.extent1305525 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen
dc.subjectโยคะen
dc.subjectสมรรถภาพทางกายen
dc.titleผลของโปรแกรมการฝึกโยคะร่วมกับกระบวนการกลุ่มต่อสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาพยาบาลen
dc.title.alternativeEffect of yoga practice combinded with group process program on physical fitness of nursing studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSureeporn.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sugira.pdf1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.