Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19984
Title: การประเมินค่าความต้านทานการเกิดร่องล้อของถนนไร้ผิวทางผสมสารผสมเพิ่ม
Other Titles: Evaluation of rutting resistance of additive added unpaved road
Authors: สิริชัย เพชร์รุ่ง
Email: Supot.T@Chula.ac.th
Advisors: สุพจน์ เตชวรสินสกุล
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์
Subjects: ดินลูกรัง
ถนน -- การออกแบบและการสร้าง
การเกิดร่องบนถนน
ถนน -- การออกแบบและการสร้าง
ถนน -- การบำรุงรักษาและการซ่อมแซม
Rutting of roads
Roads -- Design and construction
Roads -- Maintenance and repair
Issue Date: 2553
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาหาประสิทธิภาพของารผสมเพิ่มในการลดการเกิดร่องล้อของพื้นผิวถนนลูกรังบดอัดแน่น โดยใช้เครื่องมือการทดสอบที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อจำลองการเกิดร่องล้อของผิวถนน ภายใต้สภาวะน้ำหนักบรรทุก ความชื้น การหลุดร่อนของพื้นผิวดินสารผสมเพิ่มที่ใช้ในการศึกษาวิจัยคือ ยางธรรมชาติ (Natural Rubber) โมโนแซคคาไรด์ (Monosaccharide) แมกนีเซียคลอไรด์ (Magnesium chloride) และไฮเดรตไลม์ (Hydrted ime) สำหรับการเตรียมตัวอย่างการทดสอบจะจำแนกการเตรียมตัวอย่างเป็นสองรูปแบบคือ รูปแบบแรกเป็นการใช้สารราดลงบนพื้นผิวหลังจากบดอัดดินลูกรังจนได้ความแน่นตามที่กำหนด รูปแบบที่สองเป็นการนำสารผสมเพิ่มผสมกับดินลูกรังก่อนการบดอัดจนได้ความแน่นที่เท่ากัน เก็บตัวอย่างความชื้นที่ผิวดินที่เวลาต่าง ๆ วัดค่าความลึกของร่องล้อและปริมาณดินที่หลุดร่อนทุก 2,000 รอบ การทดสอบจนสิ้นสุดการทดสอบที่ 12,000 รอบ โดยสังเกตค่าความลึกของร่องล้อ ปริมาณการหลุดร่อนและการเปลี่ยนแปลงความชื้นเปรียบเทียบกับผลของการใช้น้ำผสมดินลูกรังบดอัด จากผลการทดสอบพบว่า ค่าความต้านทานการเกิดร่องล้ออันเนื่องมาจากการหลุดร่อนและน้ำหนักบรรทุกเมื่อเปรียบเทียบกับการบดอัดดินลูกรังแบบไม่ปรับสภาพด้วยสารผสมเพิ่ม ผลของไฮเดรตไลม์ผสมกับดินลูกรังช่วยลดการเกิดร่องล้อ 53.7 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งน้อยกว่าการใช้ยางธรรมชาติ โมโนแซคคาไรด์และแมกนีเซียคลอไรด์ แสดงให้เห็นว่าสารผสมเพิ่มชนิดทำปฏิกิริยาช่วยสร้างแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคของดินมากกว่าสารเคลือบผิว
Other Abstract: The present study aims to explore the effectiveness of some available anti-dust agents in controlling the rutting of unpaved road surface through the experimental instrument developed to simulate the process of rutting development on the field under the influences of moisture content, wheel contact load and method of additive application on the rutting resistance. This anti-dust agents used were the hydrated lime and other organic anti-dust agents, i.e. natural rubber, monosaccharide, and magnesium chloride. The experiment is divided into 2 main parts. The first part concern the mixing the agents with lateritic soil after compacting it as required while in second part, the same agents are mixed with the soil before it is evenly compacted. Included in this experiment are the measurement of moisture of the soil surface, the measurement of the depths of the ruts, and the amount of the soil dropping from the wheel every 2,000 rounds. At the end of 12,000th round, through the observation of the depths of the ruts, the amount of the soil dropping and the changes in moisture, in comparison with the result of mixing water with the compacted lateritic soil, the experiment reveals that the soil mixed with hydrated lime is the most effective organic anti-dust agent in reducing the rutting development than the others, as it can curb the rutting by 53.7 %. Therefore, this comes to prove that reactive additives can increase the cohesion between the soil elements better than the coating substances do.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมโยธา
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/19984
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.158
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2010.158
Type: Thesis
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirichai_pe.pdf1.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.