Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20127
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorขันทอง สุนทราภา-
dc.contributor.authorอัญชลี แท่นนิล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-07T13:56:32Z-
dc.date.available2012-06-07T13:56:32Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20127-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ศึกษา อัตราการเกิดแก๊สมีเทนและประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียในระบบการย่อยร่วมแบบไม่ใช้ออกซิเจนของมูลสุกรกับเศษอาหารและมูลสุกรกับใบปาล์มที่อัตราส่วน 100:0, 90:10, 80:20, 70:30 และ 0:100 สัดส่วนของแข็งทั้งหมดเท่ากับร้อยละ 5, 10 และ 20 ในถังปฏิกรณ์ร่วม 2 ขั้นตอนและถังปฏิกรณ์เมมเบรน พบว่าถังปฏิกรณ์เมมเบรนให้ประสิทธิภาพการบำบัดน้ำเสียสูงกว่าถังปฏิกรณ์ร่วม 2 ขั้นตอน แต่ไม่มีผลต่ออัตราการเกิดแก๊สมีเทน การนำเศษอาหารมาย่อยสลายร่วมกับมูลสุกรที่สัดส่วนของเศษอาหาร และสัดส่วนปริมาณ ของแข็งที่สูงขึ้นให้อัตราการเกิดแก๊สมีเทนเพิ่มขึ้น โดยผลการใช้ปริมาณของแข็งร้อยละ 20 ที่อัตราส่วน 70:30 ในถังปฏิกรณ์เมมเบรนให้สัดส่วนองค์ประกอบแก๊สมีเทนร้อยละ 59.6 และให้อัตราการเกิดแก๊สมีเทนมากที่สุดเท่ากับ 1.57±0.12 ลิตรต่อวัน ประสิทธิภาพการกำจัด ซีโอดี, ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งทั้งหมด และประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยง่ายในน้ำทิ้งเท่ากับ 87.5±0.9%, 47.1±1.3% และ 49.7±1.9% ตามลำดับ เมื่อนำใบปาล์มเป็นโคซับสเตรตที่ปริมาณของแข็งร้อยละ 20 ที่อัตราส่วน 70:30 ในถังปฏิกรณ์เมมเบรน พบว่าให้สัดส่วนองค์ประกอบแก๊สมีเทนร้อยละ 60.5 ในอัตรา 0.86±0.09 ลิตรต่อวัน ประสิทธิภาพการกำจัดซีโอดี, ประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งทั้งหมด และประสิทธิภาพการกำจัดของแข็งระเหยง่ายในน้ำทิ้งเท่ากับ 91.7±0.7%, 52.2±2.7% และ 43.2±1.3% ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThis research investigated the methane production and wastewater treatment efficiencies in anaerobic co-digestion of pig manure and food waste as well as of pig manure and palm leaf. The studied ratios were varied at 100:0, 90:10, 80:20 and 70:30 with TS contents of 5%, 10% and 20% in combined two stage reactor and membrane reactor. It was found that the membrane reactor provided better treatment efficiencies than the combined two stage reactor but the difference in methane production was not significant. Increasing the food waste ratios and the total solid contents, the methane production was increased. The methane portion and methane production in membrane reactor at 70:30 ratio and 20%TS were 59.6% and 1.57±0.12 L/d, respectively. The treatment efficiencies in term of COD, TS and VS removal were 87.5±0.9%, 47.1±1.3% and 49.7±1.9%, respectively. Using palm leaf as co-substrate at 70:30 ratio and 20%TS, the obtained performances in membrane reactor were 60.5 %, 0.86±0.09 L/d, 91.7±0.7%, 52.2±2.7% and 43.2±1.3%, respectivelyen
dc.format.extent3696381 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.225-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectขยะen
dc.subjectน้ำเสีย -- การบำบัด -- วิธีแบบไร้ออกซิเจนen
dc.subjectมีเธนen
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์แบบเยื่อแผ่นen
dc.titleการย่อยร่วมแบบไม่ใช้ออกซิเจนของมูลสุกร ใบปาล์ม และขยะของแข็งชุมชนในถังปฏิกรณ์ร่วม 2 ขั้นตอนและถังปฏิกรณ์เมมเบรนen
dc.title.alternativeAnaerobic co-digestion of pig manure, palm leaf and municipal solid waste in combined two stage reactor and in memrane reactoren
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorkhantong@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.225-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Aunchalee_ta.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.