Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20197
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.authorกัลยาภรณ์ แสนศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-06-09T09:45:09Z-
dc.date.available2012-06-09T09:45:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20197-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มุ่งเน้นที่จะปรับสูตรการผลิตพีวีซียืดหยุ่นในอุตสหกรรมการผลิตรองเท้าโดยการใช้คลอริเนเต็ด พาราฟิน ซึ่งเป็นพลาสติไซเซอร์ชนิดรอง ร่วมกับไดไอโซโนนิลพทาเลท ซึ่งเป็นพลาสติไซเซอร์ชนิดหลัก เพื่อลดต้นทุนการผลิตพีวีซีชนิดยืดหยุ่น ด้วยกระบวนการการอัดรีด ทั้งหมด 6 สูตร โดยศึกษาคุณสมบัติ การคายออกมาของพลาสติไซเซอร์ ความนิ่มแข็ง ความคงทนต่อน้ำมัน ความทนทานต่อแรงดึง ความยืดที่จุดขาด มอดูลัสที่ความยืดร้อยละ 100 ความต้านแรงฉีก ความถ่วงจำเพาะ สภาพต้านทานเชิงปริมาตร ของผลิตภัณฑ์ ผลจากการทดสอบพบว่าควรจะเลือกสูตรที่ 4 ซึ่งมีส่วนผสมของ พีวีซีชนิดผง 100 phr ไดไอโซโนนิลพทาเลท 66 phr สารคลอริเนเต็ด พาราฟิน 14 phr น้ำมันถั่วเหลืองอิพ๊อกซิไดซ์ 3 phr สเตบิไลเซอร์ 3 phr และแคลเซียมคาร์บอเนต 50 phr (phr, part per hundred part of PVC) เนื่องมาจากภายหลังการใช้งานสารคลอริเนเต็ด พาราฟิน ร่วมกับ ไดไอโซโนนิลพทาเลท แล้ว ไม่พบปัญหาการคายออกมาของพลาสติไซเซอร์ ค่าความนิ่มแข็งเท่ากับ Shore A 62.20 ค่าความคงทนต่อน้ำมันเท่ากับ -3.71% ค่าความทนทานเท่ากับ 9.89 MPa ค่าความยืดที่จุดขาดเท่ากับ 279.40% ค่ามอดูลัสที่ความยืดร้อยละ 100 เท่ากับ 5.40 MPa ค่าความต้านแรงฉีกเท่ากับ 14.56 N/mm ค่าความถ่วงจำเพาะเท่ากับ 1.3123 และค่าสภาพต้านทานเชิงปริมาตรเท่ากับ 2.55x10¹² Ω.cm อีกทั้งยังสามารถลดต้นทุนการผลิตพีวีซีคอมเปาวด์ได้ 1.25 บาท/กก. หรือ 2.98 %en
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to reformulate a flexible PVC in shoes production industry by adding Chlorinated Paraffins (CP) as a secondary plasticizer with Diisononyl Phthalate (DINP) as a primary plasticizer. This work has carried out 6 formulations in the extrusion process. Experimental results has shown that the fourth formula that is PVC resin 100 phr, DINP 66 phr, CP 14 phr, EPO 3 phr, Stabiliser 3 phr CaCO3 50 phr (phr, part per hundred part of PVC) is better than the other formulas because the PVC flexible specimens of the fourth formula is compatible with the plasticizer blend and has no bleeding problems. In addition, the physical properties can be improved that are the hardness of Shore A of 62.20, oil resistance of -3.71%, tensile strength of 9.89 MPa, elongation at break of 279.40, modulus at 100% of 5.40 MPa, tear resistance of 14.56 N/mm, specific gravity of 1.3123 and volume resistivity of 2.55x10¹² Ω.cm. Furthermore, with this new formula, the cost saving of the shoes compound is at 1.25 Bht/kg. or 2.98%.en
dc.format.extent3342709 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโพลิไวนิลคลอไรด์ -- การผลิต-
dc.subjectอุตสาหกรรมพลาสติก-
dc.subjectอุตสาหกรรมรองเท้า-
dc.subjectPolyvinyl chloride -- Production-
dc.subjectPlastics industry and trade-
dc.subjectFootwear industry-
dc.titleการปรับสูตรการผลิตพีวีซียืดหยุ่นโดยเติมคลอริเนเต็ดพาราฟินเป็นพลาสติไซเซอร์ทุติยภูมิสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตรองเท้าen
dc.title.alternativeFormulation of flexible PVC by adding chlorinated paraffins as secondary plasticiser in shoes production industryen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaisan.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kallayaporn_sa.pdf3.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.