Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20253
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สมภพ มานะรังสรรค์ | - |
dc.contributor.author | บุลกิต อำนาจวรประเสริฐ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-06-11T12:05:02Z | - |
dc.date.available | 2012-06-11T12:05:02Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20253 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en |
dc.description.abstract | เมื่อพิจารณาบทบาทของทองคำกับเศรษฐกิจการเมืองโลกตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1900 จนกระทั่งปัจจุบันพบว่าบทบาทของทองคำเปลี่ยนแปลงไปจากช่วงของทุนการผลิตไปสู่ทุนการเงินในฐานะของเครื่องมือสะสมทุนตลอดจนการสร้างความมั่งคั่งและการรักษาไว้ซึ่งความมั่งคั่งรวมถึงการใช้ทองคำเป็นเครื่องประดับและทางด้านอุตสาหกรรมและทางการแพทย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแล้วบทบาทต่อการกำหนดการบริหารนโยบายทางการเงิน โดยมีเป้าหมายสำคัญเพื่อสร้างเสถียรภาพให้กับระบบการเงินในฐานะของทุนสำรองระหว่างประเทศของธนาคารกลางต่างๆ ตลอดจนการเก็งกำไรผ่านตลาดเงินและตลาดทุนและเป็นเครื่องมือในการประกันความเสี่ยงจากระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราที่มีความสัมพันธ์กับสกุลเงินตราหลัก คือ เงิน ดอลล่าร์สหรัฐ และความเสี่ยงทางด้านความขัดแย้งทางการเมืองและความมั่งคงความผันผวนของระบบเศรษฐกิจการเงินโลก ความกังวลต่อภาวะเงินเฟ้อ การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงบทบาทของทองคำในเศรษฐกิจการเมืองโลกหลังสงครามโลกครั้งที่สองจนถึงปัจจุบันและศึกษาถึงความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับเศรษฐกิจการเมืองโลกว่าส่งผลกระทบต่อบทบาทของทองคำ ผลการศึกษาพบว่าความสัมพันธ์ทางด้านเศรษฐกิจหลังสงครามโลกครั้งที่สองและทองคำเปลี่ยนแปลงไปซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความเปลี่ยนแปลงของระบบการเมืองและเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงกันอย่างแนบแน่น ผ่านการประชุมทางการเงินที่เมืองเบรทตั้นวูดส์ในฐานะของระบบมาตรฐานปริวรรตทองคำเนื่องจากมีการเพิ่มบทบาทหน้าที่ของสกุลเงินดอลล่าร์ให้กลายเป็นสกุลหลักของโลก แต่อย่างไรก็ตามเงินสกุลดอลล่าห์สหรัฐจำต้องผูกโยงกับทองคำเพราะเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้กับระบบการเงินดังกล่าวด้วยการใช้ทองคำเป็นเครื่องมือทางการเงินประการหนึ่งที่ค้ำจุนเงินดอลล่าร์ให้มีสถานะที่มั่นคง รวมไปถึงการสร้างสิทธิไถ่ถอนพิเศษหรือทองกระดาษเข้ามาแทนที่ทองคำบางส่วนในด้านของการเป็นสินทรัพย์สำรองและการแก้ไขดุลการชำระเงินระหว่างประเทศ ตลอดจนบทบาทของทองคำในด้านของการเป็นเครื่องมือทางการเงินที่สำคัญต่อการบริหารความเสี่ยง การเป็นสินทรัพย์ที่สามารถต่อกรกับเงินเฟ้อหรือเงินตราได้ดีที่สุดและการเป็นแหล่งการลงทุนที่ปลอดภัย การใช้เป็นสินทรัพย์ทุนสำรองระหว่างประเทศและการเป็นเงินตราโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจและการเมือง | en |
dc.description.abstractalternative | As far as the role of gold and world politico-economy in 1900 to present has been concerned, the role of gold has been changed from production cost to financial capital as an accumulated tool and generated wealth, and use in jewelry and medical industry especially the role of gold as a determinant of monetary policy in order to stabilize the monetary and international reserve of central bank in each countries. Moreover, gold can also be used as a speculative mode in financial and capital market to be a financial risk equipment and currency, us dollar, hedge and inflation hedge through the financial fluctuation and political changes. The objectives of this study are to study the role of gold in the world politico-economy after World War II to present and to study the changes in political and economic toward the roles of gold. The results of this study can be shown that the economic relationship has been changed toward changed in political and economic as the conference in Bretton Woods in Gold Exchange System. The role of gold can be enchanted the US dollar system in order to obtain and assure the financial security, and to construct the SDR, paper gold, to be instead of gold as a reserved asset and correction of balanced of payment. Moreover, the role of gold can be shown as a safe haven, portfolio diversifier, backup currency, commodity money, and inflation hedge | en |
dc.format.extent | 2051636 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1877 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ทอง | en |
dc.subject | การค้าระหว่างประเทศ | en |
dc.title | เศรษฐกิจการเมืองโลกกับบทบาทของทองคำ | en |
dc.title.alternative | Global political-economy development and the role of gold : from the post second World War to the year 2008 | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | เศรษฐศาสตร์การเมือง | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Sompop.M@chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1877 | - |
Appears in Collections: | Econ - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
bunlakit_am.pdf | 2 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.