Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20624
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธิติ สนับบุญ-
dc.contributor.advisorสมบูรณ์ คีลาวัฒน์-
dc.contributor.authorอำไพ เข็มค้า-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-08T08:05:59Z-
dc.date.available2012-07-08T08:05:59Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20624-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractที่มา มะเร็งธัยรอยด์ชนิดแปปปิลารี่เป็นมะเร็งธัยรอยด์ที่พบมากที่สุด การใช้ลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิกในการพยากรณ์โรคยังไม่มีประสิทธิภาพเพียงพอ การกลายพันธุ์ของยีนบีราฟพบบ่อยที่สุดและจำเพาะมากสำหรับมะเร็งธัยรอยด์ชนิดนี้ การตรวจยีนนี้เพื่อพยากรณ์โรคและเพิ่มประสิทธิการรักษายังไม่มีบทสรุปแน่ชัดในปัจจุบัน วิธีการศึกษา ศึกษาผู้ป่วยมะเร็งธัยรอยด์ชนิดแปปปิลารี่จำนวน 86 คน โดยทบทวนเวชระเบียนถึงลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิก และตรวจวิเคราะห์การกลายพันธุ์ของยีนบีราฟ ในชิ้นเนื้อพยาธิวิทยาโดยวิธีเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม และการหาลำดับเบส ตามลำดับ ต่อมาจึงหาความสัมพันธ์ระหว่างยีนบีราฟและลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิกต่อไป ผลการศึกษา พบความชุกการกลายพันธุ์ของยีนบีราฟ 48 คนจากทั้งหมด 86 คนคิดเป็น 55.8% (ช่วงระดับความเชื่อมั่นที่ 95% 44.6%-66.5%) และพบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในผู้ป่วยที่มีการกระจายของมะเร็งออกนอกต่อมธัยรอยด์ (P=0.001) ระยะของมะเร็งธัยรอยด์ขั้นที่3 และ4 (P=0.048) ปริมาณรวมสารกัมมันตภาพรังสีไอโอดีนรักษา (P=0.032) ไม่พบความแตกต่างของการกลายพันธุ์ของยีนบีราฟกับลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิกอื่น สรุปผลการศึกษา พบความชุกการกลายพันธุ์ของยีนบีราฟค่อนข้างสูง และมีความสัมพันธ์กับลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิกที่รุนแรง ดังนั้นการตรวจการกลายพันธุ์ของยีนบีราฟน่าจะมีประโยชน์เพื่อใช้เป็นตัวพยากรณ์โรค และวางแผนการรักษามะเร็งต่อมธัยรอยด์ชนิด แปปปิลารี่ในผู้ป่วยชาวไทยได้en
dc.description.abstractalternativeBackground Papillary thyroid carcinoma is the most common thyroid carcinoma. Clinicopathological features help in predict prognosis with limited value. The BRAFV600E mutation is the most common oncogene rearrangement in papillary thyroid cancer (PTC). Using BRAFV600E mutation to predict prognosis is controversial. Method We analyzed 86 Thai PTC patients by medical record reviews. Pathological slides were retrieved for BRAFV600E mutation analysis by direct sequencing method. The prevalence and correlation between mutation and clinicopathological features were evaluated. Result BRAFV600E mutation was presented 55.8% in Thai PTC patients and was significant associated with extrathyroid extension (p=0.001) in advanced stage (P=0.048) and the total dose of I-131 ablation >100mCi (p=0.032). No statistic significant correlation was found in the other clinicopathological features. Conclusion BRAFV600E mutation is high prevalence in Thai PTC patients. It correlates with worse clinicopathological features, so it may be useful in prediction prognosis and treatment planning.en
dc.format.extent836023 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.888-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectต่อมธัยรอยด์ -- มะเร็งen
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ของยีนบีราฟและลักษณะทางพยาธิวิทยาคลินิกของมะเร็งต่อมธัยรอยด์ชนิดแปปปิลารี่ ในผู้ป่วยชาวไทยen
dc.title.alternativeCorrelation between braf mutation and clinicopathological features of papillary thyroid cancer in thai patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorThiti.S@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.888-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ampai_kh.pdf816.43 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.