Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20765
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตรีศิลป์ บุญขจร-
dc.contributor.advisorประพิณ มโนมัยวิบูลย์-
dc.contributor.authorอัษมา มหาพสุธานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-12T14:09:26Z-
dc.date.available2012-07-12T14:09:26Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20765-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ความหมายของความเป็นหญิงอันหลากหลายของสตรีจีนในช่วงหลังเหมาของจีนโดยเฉพาะ ตั้งแต่ค.ศ.1985 จนถึงต้นศตวรรษที่ 21 ที่ปรากฏในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนและเพื่อศึกษาบริบททางประวัติศาสตร์ สังคมและวัฒนธรรมจีนที่สัมพันธ์กับความหมายของความเป็นหญิงที่ปรากฏในนวนิยายดังกล่าวโดยศึกษาในมุมมองของปัญญาชนหญิงจีนในเมือง จากการศึกษาพบว่าภาพความเป็นหญิง โดยเฉพาะแนวคิดเกี่ยวกับความรัก เพศวิถีและความเป็นปัจเจกของผู้หญิงจีนในช่วงนี้ได้พัฒนาจากการตั้งคำถามและการโต้กลับแนวคิดของลัทธิขงจื่อและอุดมการณ์ของพรรคคอมมิวนิสต์จีนในเรื่องการเก็บกลั้นความรู้สึก การแต่งงานที่ไร้รัก การรักษาพรหมจรรย์ การปิดกั้นทางเพศวิถี และการทบทวนการทำเพื่อส่วนรวม ไปสู่ความรัก เพศวิถีและความเป็นปัจเจกที่เป็นผลมาจากการมีปฏิสัมพันธ์กับโลกาภิวัตน์ ทุนนิยม และบริโภคนิยม รวมทั้งเป็นการนิยามความหมายใหม่ของความเป็นหญิงจีนen
dc.description.abstractalternativeThis dissertation aims at analyzing the various meanings of Chinese womanhood in Post-Mao’s women’s novels, particularly from 1985 to the early years of the 21st century, and looking into the relationship between the Chinese historical, social and cultural context with the meanings of womanhood from the urban female intellectuals’ point of views. The study reveals that the representation of womanhood, particularly in terms of love, sexuality and individuality of Chinese women in this time has developed from the conflicts with Confucius’ ideologies and Mao’s, namely - the emotional restraint, loveless marriages, values on chastity, ban on sexuality and collectivism - into the new definition of womanhood with love, sexuality and individuality which results from the interaction with globalization, capitalism and consumerism.en
dc.format.extent2718058 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1917-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสตรี -- จีนen
dc.subjectสตรี -- จีน -- ภาวะสังคมen
dc.subjectนักประพันธ์สตรีจีนen
dc.subjectความเป็นหญิงในวรรณกรรมจีนen
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen
dc.subjectอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตen
dc.titleความเป็นหญิงจีนในนวนิยายของนักเขียนสตรีจีนยุคหลังเหมาen
dc.title.alternativeChinese womanhood in Post-Mao women's novelsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineวรรณคดีและวรรณคดีเปรียบเทียบes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTrisilpa.B@Chula.ac.th-
dc.email.advisorPrapin.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1917-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
usama_ma.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.