Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21022
Title: Tite et Berenice" de Corneille et "Berenice" de Racine : deux conceptions de la tragedie classique francaise
Other Titles: "ติ๊ทและเบเรนีส" ของกอร์เนย และ "เบเรนีส" ของราซีน : มโนทัศน์สองแบบในโศกนาฏกรรมคลาสสิคของฝรั่งเศส
Authors: Prayat Nichalanont
Advisors: Paniti Hoonswaeng
Other author: Chulalongkorn University.Graduate School
Advisor's Email: No information provided
Issue Date: 1981
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Tite et Bérénice, de Corneille, et Bérénioe de Racine, sont deux oeuvres dramatiques qui ont pour thème la meme histoire puis qu'il s'agit, dans l'une et dans l'antre, de la séparation entre Tite - ou Titus - et Bérénice. Vials ces deux anteurs ont une concep¬tion différente de la tragédie classique francaise et cette diffe¬rence de conception se reflète dans l'intrigue de leurs oeuvres, dans l' interpretation cu'ils en donnent et dans l'élaboration des caractères de leurs personnages. Corneille dans Tite at Bérénice, .00nstruit une intrigue compliquée qui correspond à sa conception de l'oeuvre tragique : elle est ici basée sur une double relation amoureuse, entre Tite et Bérénice, d'une part, entre Domitian et Domitie d'autre part. Bérénice, au contraire, présente une intrigue très simple ayant pour objet 1'amour de Titus et Bérénice, ceci parce que Racine affectionne la simplicité dans 1'action. Corneille interprète la séparation de Tite et Bérénice en y voyant une action admirable et héroîque, puisque ses personnages sont capables, pour leur gloire et pour colic de l' Empire Romain, d' accepter de se sacrifier aux lois de Rome. Pour Racine, c'est dif¬ferent, puisqu'il ne voit, dans cette séparation qu'une cause de malheur et que ses heros sont les jouets des lois de l'Empire Romain, auxquelles ils doivent se résigner. La conception que Corneille a du monde et de l'Homme se reflète dans les personnages de Tite et Bérénice : ce sont des hommes et des femmes conscients de leur devoir, et capables de se vaincre eux-même afin de parvenir a l'idéal de gloire qu'ils se sont fixé. La conception de Racine en diffère radicalement puisque les personnages de Bérénice sont imouissants à forcer leur propre destin et qu'ils ne peuvent pas non plus, quoi qu'ils fassent, se libérer de la situation dans laquelle ils se trouvent. Le but de la présente recherche est non seulement de mettre en lumière la différence des conceptions de Corneille et de Racine sur la tragédie classique, mais aussi d'ouvrir une plus large voie dans les etudes comparatives concernant oes deux auteurs.
Other Abstract: “ติท และเบเรนีส” ของกอร์เนย และ “เบเรนีส” ของราชีนเป็นบทละครที่มีแก่นของเรื่องอย่างเดียวกัน กล่าวคือเป็นเรื่องของการพรากจากกันระหว่าง ติท หรือ ติคุส กับเบเรนีส แต่มโนทัศน์ที่แตกต่างกันระหว่างกอร์เนยและราชีนเกี่ยวกับโศกนาฏกรรมคลาสสิคของฝรั่งเศสนำมาซึ่งความแตกต่างในการแต่งหรือการวางโครงเรื่อง การตีความตลอดจนการสร้างตัวละครทั้งสองเรื่อง เนื่องจากกอร์เนยนิยมการแต่งแบบที่โครงเรื่องซับซ้อน “ติท และเบเรนีส” ของเขาจึงมีลักษณะดังกล่าวด้วยเช่นกัน คือ เป็นโครงเรื่องที่มีรากฐานอยู่บนความรักระหว่างติทกับเบเรนีสคู่หนึ่ง และโคมิซีอองกับโคนิธีอีกคู่หนึ่ง ตรงกันข้ามกับ “เบเรนีส” ของราชีนซึ่งมีโครงเรื่องเพียงเรื่องเดียวคือ เป็นเรื่องของความรักระหว่างติคุสกับเบเรนีส ทั้งนี้เพราะราชีนนิยมแต่งแบบมีโครงเรื่องเรียบง่าย หรือมีเพียงโครงเรื่องเดียว ในส่วนที่เกี่ยวกับการตีความ กอร์เนยมองจากการพรากจากกันระหว่าง ติท กับ เบเรนีส ว่าเป็นการกระทำที่มีเกียรติน่ายกย่องเพราะ ตัวละครตัดสินใจที่จะแยกจากกันเพื่อเกียรติและศักดิ์ศรี ของจักรวรรดิโรมัน และเพื่อธำรงไว้ซึ่งประเพณีในการสืบราชบัลลังก์อันมีมาเป็นเวลาช้านาน แต่ราชีนกลับเห็นว่าการกระทำของติคุสและเบเรนีสที่ต้องพรากจากกันเป็นเรื่องที่ก่อให้เกิดความทุกข์อย่างมหันต์แก่ตัวละคร ด้วยเหตุผลที่ว่าทั้งติคุสและเบเรนีส จำต้องยอมรับสภาพดังกล่าวที่ถูกกำหนดโดยกฎเกณฑ์และประเพณีของจักรวรรดิโรมัน ตัวละครในเรื่อง “ติท และเบเรนีส” มีลักษณะเป็นไปตามโลกทัศน์ของกอร์เนยที่มีต่อมนุษย์คือ เป็นผู้มีสำนึกในหน้าที่และสามารถเอาชนะตนเองได้ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวและตัวละครในเรื่อง “เบเรนีส” ของราชีนก็มีลักษณะเป็นไปตามโลกทัศน์ของผู้แต่งเช่นกันกล่าวคือ ตัวละครในเรื่องไม่สามารถเอาชนะชะตากรรมของตนเอง และไม่สามารถหลุดพ้นไปจากสภาพที่เป็นอยู่ได้ถึงแม้จะต่อสู้ดิ้นรนสักเพียงใดก็ตาม วัตถุประสงค์ของการค้นคว้านี้ นอกจากเพื่อชี้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างกอร์เนยและราชีนทางด้านมโนทัศน์ในส่วนที่เกี่ยวกับโศกนาฏกรรมคลาสสิคของฝรั่งเศสดังกล่าวแล้ว ยังเป็นการเปิดแนวทางการศึกษาเชิงเปรียบเทียบเกี่ยวกับกอร์เนยและราชีน ทางด้านลักษณะเฉพาะตัวที่เด่นชัดของแต่ละคนให้กว้างขึ้นอีกด้วย
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University,1981
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: French
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21022
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Prayat_Ni_front.pdf470.9 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch1.pdf580.79 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch2.pdf492.02 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch3.pdf452.11 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch4.pdf490.13 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch5.pdf490.67 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch6.pdf525.7 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_ch7.pdf445.69 kBAdobe PDFView/Open
Prayat_Ni_back.pdf432.11 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.