Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21029
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยเชษฐ์ สายวิจิตร-
dc.contributor.authorสัญญา จตุวงษ์วิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-21T01:39:14Z-
dc.date.available2012-07-21T01:39:14Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21029-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการพัฒนาของเทคโนโลยีการสื่อสารไร้สายในปัจจุบันก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว อีกทั้งชนิดของบริการที่เพิ่มขึ้นยังส่งผลให้จำนวนของผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นเช่นเดียวกัน ด้วยเหตุนี้ ปัญหาความคับคั่งของระบบที่เกิดขึ้น จึงได้รับการแก้ไขโดยการนำเทคโนโลยีโครงข่ายหลากหลายเทคโนโลยีมารวมเข้าไว้ในระบบเดียวกัน ซึ่งเรียกว่าโครงข่ายการสื่อสารไร้สายแบบวิวิธพันธุ์ โดยจะมีอุปกรณ์สื่อสารไร้สายที่สามารถติดต่อผ่านโครงข่ายได้หลายประเภทในอุปกรณ์เดียว แต่ทั้งนี้หากผู้ใช้ยังคงเป็นผู้ที่สามารถเลือกโครงข่ายได้ด้วยตนเอง ปัญหาความคับคั่งของระบบก็ยังคงอยู่เช่นเดิม และส่งผลให้ระบบไม่สามารถรับรองคุณภาพของการให้บริการได้ วิทยานิพนธ์นี้จึงได้ศึกษาปัญหาดังกล่าว และนำเสนอขั้นตอนวิธีการแก้ไข โดยใช้กลยุทธ์การเลือกโครงข่ายไร้สายแบบวิวิธพันธุ์ อันประกอบไปด้วย ขั้นตอนการควบคุมการอนุญาตการเรียก และฟังก์ชันอรรถประโยชน์สำหรับตัดสินใจเลือกโครงข่ายที่เหมาะสมโดยผู้ให้บริการ เพื่อปรับปรุงค่าชี้วัดทางประสิทธิภาพของระบบ โดยระบบโครงข่ายการสื่อสารไร้สายแบบวิวิธพันธุ์ที่ทำการศึกษานั้น จะประกอบด้วยเทคโนโลยีเซลลูลาร์ Wi-Fi และ WiMAX รวมไปถึงการให้บริการหลายชนิด นอกจากนี้ยังมีการจำลองระบบ เพื่อทดสอบความสามารถของขั้นตอนวิธีที่นำเสนอ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 กรณี คือ การเปรียบเทียบการกระจายตัวของผู้ใช้บริการในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ของน้ำหนักถ่วงของฟังก์ชันย่อยที่ใช้ในกลยุทธ์ และการเปรียบเทียบความแตกต่างในการเลือกใช้กลยุทธ์ ทั้งนี้ ผลวิเคราะห์จากการทดสอบระบบแสดงให้เห็นว่า ขั้นตอนวิธีที่นำเสนอนั้นสามารถช่วยปรับปรุงค่าชี้วัดทางประสิทธิภาพของระบบได้en
dc.description.abstractalternativeNowadays, the development of wireless communication technology is rapidly evolved and increasing varieties of services also result in higher amount of users which subsequently causes network congestion. One scenario of providing such services to users is combining several types of network to one system that is called Heterogeneous Wireless Network, using multi-mode equipment which can connect through many technologies. However, if the users are allowed to select to connect to any networks by themselves, the congestion problem cannot be solved even we have already used those equipments. This circumstance affects the system in a way that it could not satisfy the guaranteed Quality of Service (QoS). Therefore, this thesis emphasized on this problem and proposed an algorithm by using network selection strategy which includes Call Admission Control (CAC) and Utility Function based Network Selection (UFNS) that were selected by the operator in order to improve system performance indices. In our study, the Heterogeneous Wireless Network, combining with cellular network, Wi-Fi, WiMAX, was considered to provide multi services and we created simulation system to test capability of the proposed algorithm. We considered three main issues; comparing types of user distribution, relationship of weighting in utility function and comparing our strategies with others.The result of this simulation showed us that the proposed algorithm can help improving various network performance indices.en
dc.format.extent1981364 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.113-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สายen
dc.subjectเทคโนโลยี 3 จี (ระบบสื่อสารเคลื่อนที่)en
dc.titleการควบคุมการเรียกโดยใช้ฟังก์ชันอรรถประโยชน์ในวิธีการเลือกเข้าใช้โครงข่ายสำหรับโครงข่ายไร้สายแบบวิวิธพันธุ์en
dc.title.alternativeUtility function based call admission control for network selection strategy in heterogeneous wireless networken
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorchaiyachet.S@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.113-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunya_ja.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.