Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21173
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์-
dc.contributor.authorจตุพงษ์ ทองสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-26T12:58:05Z-
dc.date.available2012-07-26T12:58:05Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21173-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบมีการเคลื่อนไหวร่วมกับการฝึกความแข็งแรงแบบยืดหยุ่นในกีฬาฟุตบอลที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนมัธยม ศึกษาตอนต้น กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชายระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 30 คน โรงเรียนสาธิตแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม ๆ ละ 15 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบมีการเคลื่อนไหวร่วมกับการฝึกความแข็งแรงแบบยืดหยุ่นควบคู่กับการฝึกกีฬาฟุตบอลตามปกติ จำนวน 15 คน และกลุ่มควบคุมได้รับการฝึกกีฬาฟุตบอลตามปกติ จำนวน 15 คน ทั้งนี้แต่ละกลุ่ม ทำการทดลอง 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โปรแกรมการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบมีการเคลื่อนไหวร่วมกับการฝึกความแข็งแรงแบบยืดหยุ่นที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไว และแบบทดสอบความคล่องแคล่วว่องไว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยค่าสถิติ ทดสอบค่า ”ที” ผลการวิจัย พบว่า 1.ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.ค่าเฉลี่ยของผลการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวหลังการทดลองของนักเรียนกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect dynamic stretching training combined with elastic strength training in football sport of the secondary school students. The sample was 30 students , divided Into 2 groups , 15 students In the experimental group were assigned to the dynamic stretching training combined with elastic strength in football while the other 15 students in the control group were assigned to the conventional training program. The research instruments were the dynamic stretching training combined with elastic strength in football sport and the agility test The data were analyzed by means , standard deviations , and t-test The research findings were as follows : 1. The mean scores of the agility test of the experimental and the control group students after implementation were significantly higher than before at .05 level. 2. The mean scores of the agility test of the experimental group students after implementation were significantly higher than the control group students at .05 level.en
dc.format.extent4253015 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1951-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectฟุตบอล -- การฝึกen
dc.subjectการฝึกกำลังกล้ามเนื้อen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.titleผลของการฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบมีการเคลื่อนไหวร่วมกับการฝึกความแข็งแรงแบบยืดหยุ่นในกีฬาฟุตบอลที่มีต่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeThe effect of dynamic stretching training combined with elastic strengh training in football sport upon the agility of lower secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1951-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jatupong_th.pdf4.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.