Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21195
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorใจทิพย์ ณ สงขลา-
dc.contributor.authorทศพล ศิลลา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-28T12:14:05Z-
dc.date.available2012-07-28T12:14:05Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21195-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลคะแนนการสร้างสรรค์ของผู้เรียนจากการเรียนบนเว็บด้วยวิธีการสอนแบบคิดนอกกรอบกับผู้เรียนที่เรียนด้วยวิธีปกติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีแบบการเรียนต่างกัน และศึกษาผลคะแนนการสร้างสรรค์ของผู้เรียนที่มีแบบการเรียนต่างกัน เมื่อเรียนบนเว็บด้วยวิธีการสอนแบบคิดนอกกรอบ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 ของโรงเรียนสาธิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ฝ่ายมัธยม จำนวน 120 คน ทำการแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกตามรูปแบบการเรียนโดยใช้แบบวัดรูปแบบการเรียนของคอล์บ ได้กลุ่มทดลองเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มละ 15 คน ซึ่งแบ่งออกเป็น 4 รูปแบบคือ แบบอเนกนัย แบบดูดซึม แบบเอกนัย และแบบปรับปรุง รวม 60 คน และเข้ากลุ่มควบคุม จำนวน 60 คน รวมทั้งสิ้น 120 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย เว็บไซต์ประกอบบทเรียนด้วยวิธีการสอนแบบคิดนอกกรอบ เรื่องการออกแบบภาพสามมิติ แบบประเมินการสร้างสรรค์ผลงาน แบบวัดรูปแบบการเรียน แบบสอบถามผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาของเว็บ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้เรียนที่เรียนโดยวิธีสอนบนเว็บด้วยวิธีการสอนแบบคิดนอกกรอบมีผลคะแนนการสร้างสรรค์สูงกว่าผู้เรียนที่เรียนด้วยวิธีปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)ผู้เรียนที่มีแบบการเรียนต่างกันเมื่อเรียนโดยวิธีสอนบนเว็บด้วยวิธีการสอนแบบคิดนอกกรอบแล้วมีผลคะแนนการสร้างสรรค์ไม่ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of lateral thinking teaching on web upon creative three dimensional computer graphic of ninth grade students with different learning styles. The samples were selected from Mathayom Suksa Three (ninth grade) students from Chulalongkorn University Demonstration Secondary School. They were measured by Kolb Learning Style Inventory to differentiate their learning styles into four styles (15 students in each group): Divergent Learning Style, Assimilative Learning Style, Convergent Learning Style and Accommodative Learning Style. One hundred twenty students were divided into two groups : 60 students as a treatment group and 60 students as a control group. The research instruments were 1) web - based instruction on Lateral Thinking upon creative three dimensional computer graphic, 2) evaluation form creative three dimensional computer graphic, 3) Kolb Learning Style Inventory, 4) survey about usability of web-based instruction , 5) learning achievement test. Data were analyzed using the One-way ANOVA The results of this research were as follow; 1) It was found that the creative three dimensional computer graphic scores of student using web-based instruction was higher than the control group at the .05 level significance. 2) the creative three dimensional computer graphic score of students who learned with different learning styles in web-based instruction did not have differences at .05 level of significance.en
dc.format.extent3903584 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1959-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความคิดนอกกรอบen
dc.subjectการออกแบบกราฟิกen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.titleผลของการสอนแบบคิดนอกกรอบบนเว็บที่มีต่อการสร้างสรรค์งานกราฟิกสามมิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีแบบการเรียนต่างกันen
dc.title.alternativeEffects of lateral thinking teaching on Web upon creative three dimensional graphic of ninth grade students with different learning stylesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJaitip.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1959-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
thotsapon_si.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.