Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปราณี กุลละวณิชย์-
dc.contributor.authorศรินทิพย์ วัชรวัฒนากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-18T07:10:49Z-
dc.date.available2012-08-18T07:10:49Z-
dc.date.issued2528-
dc.identifier.isbn9745660671-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21527-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2528en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการศึกษาการรวมความหมายในคำกริยาภาษาไทยตามเกณฑ์ของเจฟฟรีย์ เอส กรูเบอร์ ขอบเขตของการศึกษาจำกัดเฉพาะการรวมความหมายของคำนามหรือบุพบทวลีไว้ในคำกริยา และมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา 2 ประการ คือ เพื่อศึกษาลักษณะการเกิดของการรวมความหมายว่ามีกี่ประเภท และเพื่อศึกษาว่าการวมความหมายในคำกริยานั้นเกี่ยวข้องกับการกใดบ้าง ผลของการศึกษาสรุปได้ว่า การรวมความหมายมี 3 ประเภท คือ ประเภทการรวมความหมายที่ต้องเกิด ประเภทการรวมความหมายที่อาจจะเกิดหรือไม่เกิดก็ได้ และประเภทการรวมความหมายที่มีเงื่อนไขในการเกิด ประเภทที่ 3 นี้เป็นประเภทที่ผู้วิจัยเพิ่มเติมจากกรูเบอร์ซึ่งมีเพียง 2 ประเภทแรก นอกจากนี้ การรวมความหมายสามารถรวมคำนามซึ่งมีความสัมพันธ์กับคำกริยาในการกต่างๆ ได้ 5 ชนิด คือ เครื่องมือ ผู้ทรง – รับ สถานที่ จุดเริ่มต้น และจุดหมาย ผลของการศึกษายังแสดงด้วยว่า การรวมความหมายส่วนใหญ่เกิดขึ้นกับคำนามเฉพาะคำใดคำหนึ่ง การรวมความหมายของคำนามในคำกริยาจึงเป็นลักษณะเฉพาะของคำกริยาเป็นคำๆ ไป-
dc.description.abstractalternativeThis thesis is a study of incorporation in Thai verbs. The analysis is based on the approach proposed by Jeffrey S. Gruber. The study covers only the incorporation of nouns or prepositional phrases. The first aim of the study is to classify incorporation in Thai verbs. The second is to identify the cases which can be incorporated. The analysis shows that there are three types of incorporation : obligatory, optional, and conditional. The third type is added to the first two types given by Gruber. In regards to cases, it is found that five cases can be incorporated. They are instrumental, objective, locative, source, and goal. The study also shows that incorporation mostly occurs with specific nouns, which means that incorporation is an idiosyncracy of each verb.-
dc.format.extent369443 bytes-
dc.format.extent411375 bytes-
dc.format.extent659500 bytes-
dc.format.extent585828 bytes-
dc.format.extent962938 bytes-
dc.format.extent403917 bytes-
dc.format.extent393703 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการรวมความหมายในคำกริยาภาษาไทยen
dc.title.alternativeIncorporation in Thai verbsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sarinthip_Wa_front.pdf360.78 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_ch1.pdf401.73 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_ch2.pdf644.04 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_ch3.pdf572.1 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_ch4.pdf940.37 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_ch5.pdf394.45 kBAdobe PDFView/Open
Sarinthip_Wa_back.pdf384.48 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.