Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21545
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorแววรวี สังขพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-08-18T09:01:25Z-
dc.date.available2012-08-18T09:01:25Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21545-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractข้อถกเถียงเรื่องการไม่กระทำไม่ควรต้องรับผิดในทางอาญาดูหมดสิ้นไปด้วยเหตุผลที่ว่า การไม่กระทำในกรณีที่ควรกระทำ แล้วสามารถก่อให้เกิดผลร้ายได้ไม่น้อยไปกว่ามีการกระทำความผิดเลย ด้วยเหตุนี้ มาตรา 59 วรรคท้าย ได้นำมาบัญญัติว่า “การกระทำให้หมายความรวมถึง การให้เกิดผลอันหนึ่งอันใดขึ้นโดยงดเว้นการที่จักต้องกระทำ เพื่อป้องกันผลนั้นด้วย” แต่กรณีใดบ้างที่บุคคลจักต้องกระทำเพื่อป้องกันผลกฎหมายไม่ได้บัญญัติไว้ Macaulay นักกฎหมายชาวอังกฤษจึงเห็นว่า ภาระทางศีลธรรม (the moral obligation) เพียงอย่างเดียวยังไม่พอเพียงที่จะก่อให้บุคคลมีความรับผิดทางอาญาได้ ด้วยเหตุนี้เขาจึงวางหลักอย่างมีเหตุผลว่า การไม่มีเมตตาธรรม ซึ่งเป็นเรื่องที่น่าตำหนิ โดยทั่วๆ ไปแล้วไม่ควรถือว่าเป็นความผิดและควรลงโทษเฉพาะที่มีพฤติการณ์ เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ในการบัญญัติกฎหมายเพื่อลงโทษบุคคลเท่านั้น พฤติการณ์ที่เหมาะสมนั้นได้แก่ การมีสภาวะ หรือความผูกพันธ์บางอย่าง หรือ หน้าที่เฉพาะกำหนดหน้าที่แก่บุคคลจำต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้น ซึ่งได้แก่ หน้าที่เกิดจากความสัมพันธ์ในครอบครัว, เกิดจากบทบัญญัติของกฎหมาย, เกิดจากสัญญา, เกิดจากพฤติการณ์บางอย่างของบุคคล เช่น การรับเข้าดูแลโดยสมัครใจ, การที่ตนก่อให้เกิดอันตราย, การเป็นเจ้าของหรือผู้ครอบครองทรัพย์สิน เป็นต้น และมีแนวโน้มว่าหน้าที่ของบุคคลจะได้รับการขยายออกไปเรื่อยๆ นอกจากนี้ บุคคลผู้มีหน้าที่ต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้น หากเขางดเว้นกระทำแล้วจะก่อให้เขาต้องรับผิดทางอาญาต่อเมื่อ เขามีกำลังความสามารถทางกายที่จะต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้นได้ด้วย สำหรับปัญหาในเรื่องกฎหมายไม่ได้กำหนดหน้าที่ของบุคคลว่า กรณีใดบ้างที่บุคคลจะต้องกระทำเพื่อป้องกันผลนั้น เป็นการขัดกับหลักนิติธรรมที่ว่า ไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมาย (NULLUM CRIMEM NULLA POENA SINE LEGE) นั้น เห็นว่า โดยจริงๆ แล้ว หน้าที่ที่ต้องกระทำนั้นเป็นความรู้สึกของมนุษย์ซึ่งเกิดขึ้นเองและเป็นความสำนึกที่มีอยู่ในจิตใจของมนุษย์ทุกคน แต่เป็นสิ่งที่ละเอียดอ่อนเกินกว่าจะนำมาบัญญัติไว้ในกฎหมายในครอบคลุมในทุกเรื่องได้ ในทางกลับกัน หากนำมาบัญญัติไว้ จะทำให้แคบเกินไป และก่อให้เกิดผลร้ายต่อสังคมโดยส่วนร่วม เพราะเมื่อโลกมีวิวัฒนาการใหม่ เหตุการณ์ใหม่ๆ ย่อมเกิดขึ้น ความผูกพันของมนุษย์ต่อเหตุการณ์นั้น อาจกลายเป็นความรับผิดชอบที่เพิ่มขึ้น ทำให้ดูเสมือนเป็นการขยายของหน้าที่นั่นเอง และเห็นสมควรเป็นหน้าที่ของนักวิชาการ และศาลที่วางแนวทางและขอบเขตเพื่อเผยแพร่และเพิ่มเติมสิ่งเหล่านี้ เพื่อเป็นบรรทัดฐานของสังคม แต่อยู่ภายใต้ข้อจำกัดที่ว่า ผลร้ายที่เกิดขึ้นจากการงดเว้นกระทำจะต้องเป็นผลที่กฎหมายบัญญัติไว้ว่าเป็นความผิด-
dc.description.abstractalternativeThe argument on the justification of criminal liability for omission is much less significance today than before. It can be said that certain grave consequences occured by omission which prompted jurists and legislature to take measures in dealing with omission. Under paragraph 5 of section 59 of the Thai Penal Code 1957 provided that “An act shall include any effect brought about by the omission to do an act which must be done inorder to prevent such effect” The Penal Code does not in detail analysis, specify exhaustive instances on what circumstance that one must act in order to prevent the proscribed effect. “Macaulay” an English Lawyer described that only moral obligation can not examine one’s criminal libility, he also emphazised that only lack of mercy should not be criminal libility but not in some serious circumstances which the rationals of punishment needed to. As a matter of fact these circumstances concern about the relationships or duty to act such as duties in family, contract, or in some obligations. In cases where the law does not specify one’s legal duty to act and when the case comes to the court, the court finds that with the rule nullum crimen nulla poena sine lege. This is an important dilemma and the significance of which is not merely academic. Certain compromises to reconcile these two concepts are made in this study. One of which being “the plea of necessity”. Our modern society, complicated as it is needs to leave the duties in relation to each other open and be dictated by different circumstances and pronounced from time to time by judges, suggested from time to time by academics etc.-
dc.format.extent423711 bytes-
dc.format.extent595742 bytes-
dc.format.extent755210 bytes-
dc.format.extent2070689 bytes-
dc.format.extent391956 bytes-
dc.format.extent545778 bytes-
dc.format.extent276411 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการกระทำโดยงดเว้นen
dc.title.alternativeOmission to acten
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Vaewravee_Su_front.pdf413.78 kBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_ch1.pdf581.78 kBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_ch2.pdf737.51 kBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_ch3.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_ch4.pdf382.77 kBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_ch5.pdf532.99 kBAdobe PDFView/Open
Vaewravee_Su_back.pdf269.93 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.