Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21764
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJintana Thunwaniwat Barton-
dc.contributor.authorTeeraparp Predeepoch-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Art-
dc.date.accessioned2012-08-24T09:29:41Z-
dc.date.available2012-08-24T09:29:41Z-
dc.date.issued2007-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21764-
dc.descriptionThesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2007en
dc.description.abstractบทคัดย่อภาษาจีนen
dc.description.abstractalternativeการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความหมายและการใช้คำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” ซึ่งรวมถึงคำ“GUOLAI”และ“GUOQU”ด้วย และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบความหมายและการใช้คำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” กับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกัน ผลการวิจัยพบว่า ความหมายของคำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” สามารถแบ่งเป็น ๒ ความหมาย คือ ความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัย ส่วนวิธีการใช้พบว่า ก)โครงสร้างประโยคของ “GUO” มี 6 แบบ 1)ส่วนโครงสร้างประโยคของ “GUOLAI” และ “GUOQU” มี 15 แบบ และ 14 แบบตามลำดับ 2)ตำแหน่งบทกรรมของ “GUO” ต้องตามหลังคำเสริมกิริยาเท่านั้น ส่วนตำแหน่งบทกรรมของ “GUOLAI” และ “GUOQU” สามารถวางได้ 3 ตำแหน่งคือ ข้างหน้า ข้างหลัง และ ตรงกลางของคำเสริมกิริยา 3)ตำแหน่งปัจจัย “LE” ของ “GUO” ต้องอยู่หลังคำเสริมกิริยา หรือท้ายประโยคเท่านั้น ส่วนตำแหน่งปัจจัย “LE”ของ “GUOLAI” และ “GUOQU” วางได้ 2 ตำแหน่งคือ ด้านหน้า และหลังของคำเสริมกิริยา 4) การใช้คำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” ในโครงสร้างคำเสริมกิริยาบอกความเป็นไปได้ พบทั้งในความหมายโดยตรง และความหมายโดยนัยสำหรับผลการศึกษาเปรียบเทียบคำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” กับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกันพบว่า ในด้านความหมาย เมื่อ“GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” แปลเป็นภาษาไทยแล้ว มีลักษณะดังนี้ คือ 1)ภาษาจีนและภาษาไทยใช้คำเสริมกิริยาตรงกัน 2)คำเสริมกิริยาที่ใช้ในภาษาจีนและภาษาไทยไม่ตรงกัน 3)ภาษาจีนใช้คำเสริมกิริยา แต่ภาษาไทยไม่ใช้ ส่วนด้านวิธีการใช้ มีลักษณะดังนี้ 1)โครงสร้างประโยคในภาษาจีนและภาษาไทยมีทั้งความเหมือนและความต่าง 2) ตำแหน่งบทกรรมในภาษาจีนและภาษาไทยเหมือนกัน 3) ปัจจัย “LE” เมื่อปรากฏร่วมกับคำเสริมกิริยาบอกทิศทาง “GUO” “GUOLAI” และ “GUOQU” ในประโยคเดียวกัน ตำแหน่งในภาษาจีนและภาษาไทย มีทั้งความเหมือนและความต่าง 4)การใช้คำเสริมกิริยาบอกทิศทางในโครงสร้างคำเสริมกิริยาบอกความเป็นไปได้ พบทั้งในภาษาจีนและภาษาไทย แต่โครงสร้างต่างกันen
dc.format.extent1351440 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isozhes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.1561-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectChinese language -- Verben
dc.subjectThai language -- Verben
dc.titleA comparative study of the directional complement "GUO" in Mandarin Chinese and its Thai equivalentsen
dc.title.alternativeการศึกษาเปรียบเทียบคำเสริมกริยาบอกทิศทาง "GUO" ในภาษาจีนกลางกับคำภาษาไทยในลักษณะเดียวกันen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Artses
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChinese as a Foreign Languagees
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorJintana.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.1561-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Teeraparp.pdf1.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.