Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21792
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพันธุ์ สุวรรณมรรคา-
dc.contributor.authorพรรณวดี ยืนยงค์นาน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-26T11:53:51Z-
dc.date.available2012-08-26T11:53:51Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21792-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ (1) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของความตระหนักต่อโลก (2) เพื่อพัฒนาแบบวัดความตระหนักต่อโลก (3) เพื่อตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดความตระหนักต่อโลก และ (4) เพื่อทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดความตระหนักต่อโลกตามตัวแปรเพศ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในสังกัดคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กรุงเทพมหานคร จำนวน 1,436 คน เป็นชาย 637 คนและหญิง 799 คน เครื่องมือวิจัย คือ แบบวัดความตระหนักต่อโลก วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย วิเคราะห์ความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในตามสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค วิเคราะห์ความตรงเชิงโครงสร้างจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัด ด้วยโปรแกรม LISREL ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความตระหนักต่อโลกประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ ความตระหนักในมุมมองที่แตกต่าง ความตระหนักในสภาพปัจจุบันของโลก ความตระหนักในความแตกต่างของวัฒนธรรม ความรู้ในเรื่องพลวัตของโลก และความตระหนักต่อทางเลือกของมนุษย์ 2. แบบวัดความตระหนักต่อโลกครอบคลุม 5 องค์ประกอบ และมีรายการวัด 2 แบบ คือ แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับจำนวน 51 ข้อ และแบบสอบแบบเลือกตอบ 5 ตัวเลือกจำนวน 4 ข้อ 3. แบบวัดมีความตรงตามเนื้อหาโดยมีค่า IOC ตั้งแต่ 0.67 – 1.00 มีความตรงตามโครงสร้างจากการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และมีค่าความเที่ยงแบบความสอดคล้องภายในเท่ากับ 0.89 4. โมเดลการวัดของแบบวัดความตระหนักต่อโลกระหว่างกลุ่มนักเรียนชายและนักเรียนหญิง มีความไม่แปรเปลี่ยนของรูปแบบโมเดล มีความไม่แปรเปลี่ยนของค่าพารามิเตอร์สัมประสิทธิ์ถดถอยของตัวแปรสังเกตได้บนตัวแปรแฝงภายนอก (Λₓ) (χ²= 6.35 , df = 6 , p = 0.39 , χ²/df = 1.06 , RMR = 0.01 , RMSEA = 0.01 , GFI = 1.00 , CFI = 1.00 , RFI = 0.99 และ NFI = 1.00) ดังนั้นแบบวัดความตระหนักต่อโลกที่พัฒนาขึ้นจึงมีความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดระหว่างเพศของนักเรียนen
dc.description.abstractalternativeThe research objectives were (1) to analyze the dimensions of global awareness (2) to develop a global awareness scale (3) to examine a quality of a global awareness scale and (4) to test measurement invariance of a global awareness scale between male and female students. The samples consisted of 1,436 high school students under The Basic Education Commission, Bangkok , which were 637 male students and 799 female students. The research instruments were a global awareness scale. The scale was analyzed by descriptive statistics , internal consistency reliability analysis by Cronbach’ s alpha coefficient, confirmatory factor analysis and the invariance of measurement model through LISREL program. The research results were as follows: 1. A global awareness consists of five components : Perspectives Consciousness, State of Planet Awareness, Cross-cultural Awareness, Knowledge of Global Dynamics, and Awareness of Human Choices. 2. A global awareness scale holds five components and includes two styles : A rating scale consists of 51 question items and a test in multiple choices consists of 4 question items. 3. A global awareness scale has a content validity by the IOC from 0.67 to 1.00 and a construct validity proven by the confirmatory factor analysis. The Cronbach’s alpha reliability coefficient was 0.89. 4. The measurement model of a global awareness scale indicated invariance of model form and the parameter coefficient regression of the observed variables on latent variables (Λₓ) (χ²= 6.35 , df = 6 , p = 0.39 , χ²/df = 1.06 , RMR = 0.01, RMSEA = 0.01 , GFI = 1.00 , CFI = 1.00 , RFI = 0.99 and NFI = 1.00) between male and female students. So this scale was invariance of measure by students gender.en
dc.format.extent3922986 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.483-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความตระหนัก -- การวัดen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาen
dc.subjectการวิเคราะห์ความแปรปรวนen
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความตระหนักต่อโลกของนักเรียนมัธยมศึกษา : การทดสอบความไม่แปรเปลี่ยนของการวัดตามตัวแปรเพศen
dc.title.alternativeThe development of a global awareness scale for secondary school students : testing measurement invariance by genderen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิธีวิทยาการวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.authorSiripaarn.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.483-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
panwadee_yu.pdf3.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.