Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริลักษณ์ ศุภปีติพร-
dc.contributor.authorสลิลาพร กองทองมณีโรจน์-
dc.date.accessioned2012-08-29T12:39:23Z-
dc.date.available2012-08-29T12:39:23Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21875-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการนอนหลับและภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยแผนกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี โดยศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 110 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามข้อมูลทางสุขภาพและการรักษา แบบสัมภาษณ์ดัชนีชี้วัดสุขภาพจิตคนไทยฉบับสั้น จำนวน 15 ข้อ แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับ PSQI (The Pittsburgh Sleep Quality Index) แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียดในชีวิตจำนวน 30 ข้อและแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการเผชิญความเครียดวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม SPSS for window สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบไคว์-สแควร์ และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลวิจัย พบว่า ความชุกของคุณภาพการนอนหลับที่ไม่ดีของผู้ป่วยแผนกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี พบร้อยละ 40.0ภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยส่วนใหญ่ ร้อยละ 69.1 มีสุขภาพจิตต่ำกว่าคนทั่วไป พบว่าคุณภาพการนอนหลับไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะสุขภาพจิต ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพการนอนหลับอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ สถานภาพสมรส เหตุการณ์ความเครียดด้าน ปัญหาการเงิน การเปลี่ยนแปลงการจัดการชีวิตความเป็นอยู่ กลัวว่าเด็กจะไม่ได้รับการดูแล รู้สึกถูกแบ่งแยกเนื่องจากการป่วย รู้สึกป่วยบ่อย และมีอาการปวดบ่อย ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะสุขภาพจิต คือ อายุ พบว่าผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไปมีภาวะสุขภาพจิตต่ำกว่า คนทั่วไป และพบความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับปัญหาและด้านการจัดการกับอารมณ์ กับภาวะสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05ซึ่งผลการวิจัยนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางในการดูแล ส่งเสริมคุณภาพการนอนหลับของผู้ป่วย รวมถึงดูแล ช่วยเหลือ และพัฒนาให้มีสุขภาพจิตที่ดีต่อไปen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this descriptive research were to study of sleep, mental health status and related factors among outpatients of Thai traditional medicine and alternative medicine at Chao PhyaAbhaibhubejhr hospital. The sample was 110 outpatients of Chao PhyaAbhaibhubejhr hospital. The instruments were demographic data, The Thai-mental health indicator, The Pittsburgh sleep quality index, The life stressful event questionnaires and Coping scale 36 coping behaviors. Statistic analysis was done by using SPSS for windows. The data were analyzed for percentage, mean, standard deviation, chi-square and Pearson’s product moment correlation coefficient. The major findings were as followed: Prevalence rate of poor quality of sleep in outpatients were 40.0%. The Thai-mental health indicator scores indicated that 69.1% of subjects had lower-normal mental health. The quality of sleep had not related to mental health and the factors related to quality of sleep included marital status and stressful events about change in financial state, change in living conditions, worries about child care, experienced discrimination because of illness, felt ill frequently and experienced pain frequently. The factors significantly related to mental health status were found to be age, stressful event about change in residence, confrontive coping behavior and emotive coping behavior. The results of this study could be used as guideline to manage and promoting sleep in outpatients of Thai tradition medicine and alternative medicine, including mental health promotion and coping skill for better mental health.en
dc.format.extent2541896 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.511-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร -- ผู้ป่วยen
dc.subjectสุขภาพจิต -- ผู้ป่วยen
dc.subjectการนอนหลับ -- ผู้ป่วยen
dc.subjectการแพทย์ทางเลือก -- ผู้ป่วยen
dc.titleคุณภาพการนอนหลับและภาวะสุขภาพจิตของผู้ป่วยแผนกการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก โรงพยาบาลเจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรีen
dc.title.alternativeQuality of sleep and mental health status among outpatients of Thai traditional medicine and alternative medicine of Chao Phya Bhaibhubejhr Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSiriluck.S@Chula.ac.th, chsrs@redcross.or.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.511-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
salilaporn_ko.pdf2.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.