Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21947
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรภัทร์ อิงคโรจน์ฤทธิ์-
dc.contributor.authorภัณบดินทร์ สุภธีระ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-30T10:11:19Z-
dc.date.available2012-08-30T10:11:19Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21947-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractศึกษารวบรวมข้อมูลรูปแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน และวิธีการออกแบบแสงประดิษฐ์ในบริเวณส่วนโถงต้อนรับของโรงแรมในกรุงเทพมหานคร โดยได้เก็บข้อมูลรูปแบบทางสถาปัตยกรรมภายใน และวิธีการออกแบบแสงประดิษฐ์จากโถงต้อนรับของโรงแรมระดับ 4-5 ดาว ในกรุงเทพมหานคร ที่สร้างในช่วงปี พ.ศ. 2510-2554 จำนวนทั้งสิ้น 34 กรณีศึกษา โดยได้ถอดองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรม และองค์ประกอบทางแสงประดิษฐ์ และวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบทั้งสอง จากการรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์รูปแบบการให้แสงในส่วนพื้นที่โถงต้อนรับของโรงแรม พบว่ามีการให้แสงในรูปแบบ Downlight, Cove Lighting และ Task Lighting มากสุดเป็น 3 อันดับแรก โดยพบความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการให้แสงกับองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมในลักษณะต่างๆ กัน อาทิ รูปแบบของฝ้าเพดานที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อการเลือกใช้แสงประดิษฐ์ เช่น ฝ้าเรียบจะเหมาะกับการเลือกใช้แสงประดิษฐ์แบบ Downlight, Decorative Lighting หรือ Slot Outing ส่วนฝ้าหลุม-หลืบ จะเหมาะกับการเลือกใช้แสงประดิษฐ์แบบ Downlight, Decorative Lighting หรือ Cove Lighting เป็นต้น ทั้งนี้พบว่าการออกแบบแสงประดิษฐ์ในส่วนพื้นที่โถงต้อนรับของโรงแรมนั้น มีจุดประสงค์หลักเพื่อสร้างความโดดเด่นให้กับพื้นที่ส่วนเคาน์เตอร์ต้อนรับ และส่วนนั่งพักคอย อันจะส่งผลให้ง่ายต่อการสังเกตเห็นสำหรับแขกผู้เข้าพัก หรือผู้ที่ต้องการเข้ามาติดต่อประสานงานกับทางโรงแรม งานวิจัยชิ้นนี้ได้นำเสนอแนวทางสำหรับการออกแบบแสงประดิษฐ์ในส่วนของโถงต้อนรับ โดยสถาปนิกหรือผู้ที่มีความสนใจในเรื่องของการออกแบบแสงประดิษฐ์ สามารถนำเอาผลการวิเคราะห์และข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัย มาประยุกต์ใช้กับพื้นที่โถงต้อนรับของโรงแรมที่ได้ทำการออกแบบใหม่ หรือโรงแรมที่ต้องการจะทำการปรับปรุงen
dc.description.abstractalternativeTo examine the interior architecture and lighting design elements of hotel lobbies in Bangkok. The data were collected from the lobbies of 34 4- or 5-star hotels in Bangkok that were built between 1967 and 2011. The architectural elements and the lighting design elements as well as the relationships between the two types of elements were analyzed. In terms of the lighting design elements, it was found that the three most popular types of lighting were down lighting, cove lighting, and task lighting. Several types of relationships between lighting design elements and architectural elements were identified. For example, the type of ceiling influenced the selection of lighting style elements. Specifically, a flat ceiling suited down lighting, decorative lighting, or slot outing, whereas a recessed ceiling matched down lighting, decorative lighting, or cove lighting. The findings also showed that the objective of lighting design elements was to highlight the reception counter and lobby areas so as to make them easy to be seen by guests or those contacting the hotel. The present study has provided guidelines for designing lighting elements in hotel lobbies. Thus, architects interested in this can apply the results and recommendations in designing new hotel lobbies or renovating existing ones.en
dc.format.extent22945723 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.518-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแสงในสถาปัตยกรรมen
dc.subjectการให้แสงทางสถาปัตยกรรมและการตกแต่งen
dc.subjectโรงแรม -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectห้องโถงโรงแรมen
dc.subjectLight in architectureen
dc.subjectLighting, Architectural and decorativeen
dc.subjectHotels -- Thailanden
dc.subjectHotel lobbiesen
dc.titleองค์ประกอบทางการออกแบบแสงประดิษฐ์บริเวณส่วนโถงต้อนรับของโรงแรมในกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeLighting design elements of hotel lobbies in Bangkoken
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVorapat.I@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.518-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
bhanbordintra_su.pdf22.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.