Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22028
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์-
dc.contributor.authorกรรัช มากเจริญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-08T04:04:30Z-
dc.date.available2012-09-08T04:04:30Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22028-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาสุขศึกษาก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองที่ได้รับการจัดโปรแกรมการกำกับตนเองและของกลุ่มควบคุม 2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของคะแนนผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้วิชาสุขศึกษาหลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม 3) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งในการบริโภคอาหารจานด่วน ก่อนและหลังการทดลองของกลุ่มทดลองและของกลุ่มควบคุม 4) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของจำนวนครั้งในการบริโภคอาหารจานด่วน หลังการทดลองระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนพุทธจักรวิทยา กรุงเทพมหานคร จำนวน 50 คน แบ่งเป็นนักเรียนกลุ่มทดลอง จำนวน 25 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุม จำนวน 25 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการกำกับตนเองเป็นเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้โปรแกรมการกำกับตนเอง จำนวน 24 แผน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาสุขศึกษาด้านความรู้ เจตติ และการปฏิบัติมีค่าความเที่ยง 0.86 , 0.84 และ 0.80 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่า “ที” ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่ได้รับโปรแกรมการกำกับตนเอง มีเจตคติ การปฏิบัติ และจำนวนครั้งในการบริโภคอาหารจานด่วนดีกว่านักเรียนที่ไม่ได้รับโปรแกรมการกำกับตนเองen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were: 1) to compare the average score achievements of health education subject before and after implementation of the experimental group and the control group 2) to compare the average score achievements of health education after implementation between the experimental and the control group 3) to compare the average score of the number of times on fast food consumption before and after implementation of the experimental group and the control group 4) to compare the average score of the number of times on fast food consumption after implementation between the experimental and the control group.The sample was 50 students from the eighth grade of Buddhajak Witthaya School, Bangkok. Divided into 2 groups with 25 students in both the experimental and control group.The experimental group studied under the health education learning management using a self-regulation program for 8 weeks,3 days a week, 30 minutes a day. The research instruments were composted of 24 learning activity plans and the test of knowledge, attitude, and practice, reliability were 0.86, 0.84 and 0.80. The data were then analyzed by means, standard deviations, and t-test. The research findings were as follows : The secondary school students which received the self-regulation program had attitude, practice and number of times on fast food consumption better than the secondary school students which did not received the self-regulation program.en
dc.format.extent5742584 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.551-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุขศึกษา -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectบริโภคนิสัยen
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.titleผลของการจัดการเรียนรู้วิชาสุขศึกษาโดยใช้โปรแกรมการกำกับตนเองที่มีต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารจานด่วนของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeThe effects of health education learning management using a self-regulation program on fast food consumption behaviours of secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.551-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kornruch_ma.pdf5.61 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.