Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22057
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณี เจตจำนงนุช-
dc.contributor.authorกัญชพร เชื้อชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-09T14:36:54Z-
dc.date.available2012-09-09T14:36:54Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22057-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังได้รับการฝึกด้วยโปรแกรมทีเอเอซี และเพื่อเปรียบเทียบผลของการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ระหว่างกลุ่มทดลองโดยใช้โปรแกรมทีเอเอซีและกลุ่มควบคุมที่ไม่ได้รับการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหา กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัดนิมมานรดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 60 คน สุ่มนักเรียนเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบทักษะการคิดแก้ปัญหาและกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยโปรแกรมทีเอเอซี งานวิจัยครั้งนี้วิเคราะห์ข้อมูลโดยเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนค่าที (t-test) โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่ได้รับการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหาโดยใช้โปรแกรมทีเอเอซี จะมีทักษะการคิดแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนที่ได้รับการฝึกทักษะการคิดแก้ปัญหา โดยใช้โปรแกรมทีเอเอซี จะมีทักษะการคิดแก้ปัญหาสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were : 1) to compare effects of problem – solving skills of seventh grade students in an experimental group which was training with a TAAC program 2) to compare effects of problem – solving skills of students between an experimental group and a control group. Subjects consisted of 2 classrooms of seventh grade students from Nimmanoradee School, Bangkok. The classrooms were randomly assigned into 2 groups : an experimental group and a control group with 30 students in each group. data collecting instruments consisted of a problem – solving skills test and a TAAC program. The data were compared by t- test. The results of this research were as follows: 1. After receiving the TAAC program, experimental group students gained higher problem – solving skills. 2. After the internation, experimental group students had higher problem – solving skills than control group students.en
dc.format.extent2836494 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.674-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการแก้ปัญหาในเด็กen
dc.subjectทักษะทางการคิดen
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.titleผลของการใช้โปรแกรมทีเอเอซีที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeThe effects of TAAC program on problem – solving skills of seventh grade studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwannee_krukim@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.674-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kunchaporn_ch.pdf2.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.