Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22105
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรชุลี คุณานุกร-
dc.contributor.authorมารุต ดำชะอม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-09-15T03:16:26Z-
dc.date.available2012-09-15T03:16:26Z-
dc.date.issued2525-
dc.identifier.isbn9745607908-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22105-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการทางจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา ป.กศ.สูง ปีที่ 1 กับ ค.บ. ปีที่ 2 2. เพี่อศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการทางจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา เพศหญิงกับเพศชาย 3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับลักษณะ มุ่งอนาคตของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา สมมติฐานของการวิจัย 1. พัฒนาการทางจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา ป.กศ. สูง ปีที่ 1 ต่ำกว่า ค.บ. ปีที่ 2 2. นักศึกษาหญิง และนักศึกษาชายของวิทยาลัยครูสงขลา มีพัฒนาการทางจริยธรรมไม่แตกต่างกัน 3. ระดับจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลามีสหสัมพันธ์ทางบวกกับลักษณะมุ่งอนาคต วิธีดำเนินการวิจัย กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย เป็นนักศึกษาชาย หญิง ที่กาลังศึกษาอยู่ในชั้น ป.กศ.สูง ปีที่ 1 และ ค.บ. ปีที่ 2 จากวิทยาลัยครูสงขลา โดยใช้วิธีสุ่มแบบแยกประเภท (stratified random sampling technique) รวมทั้งสิ้น 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสัมภาษณ์ตามโครงสร้างที่กำหนดไว้ ซึ่งผู้วิจัย ได้สร้างขึ้น โดยอาศัยทฤษฎีพัฒนาการในการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมทั้ง 6 ขั้น ของลอเรนซ์ โคลเบอร์ก แลฺะแบบสอบวัดลักษณะมุ่งอนาคต ที่ผู้วิจัยได้สร้างขึ้นเพื่อวัดลักษณะ มุ่งอนาคต การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้วิธีหาค่ามัชฌิมาเลขคณิต ([mean]) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product moment correlation coefficient) และททสอบความมีนัยสำคัญของความแตกต่างทางสถิติด้วยค่าที (t-test) ผลการวิจัย ผลการวิจัยปรากฏว่า 1. นักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา ป.กศ.สูง ปีที่ 1 มีพัฒนาการทางจริยธรรมต่ำกว่า นักศึกษา ค.บ. ปีที่ 2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2. นักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา ทั้งเพศหญิงและเพศชาย มีพันนาการทางจริยธรรม ไม่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3. ระดับจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลา มีความสัมพันธ์ทางลบกับลักษณะมุ่งอนาคต ข้อเสนอแนะ จากผลของการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้เสนอแนะให้มีการสัมมนา หรืออภิปราย การให้เหตุผลเชิงจริยธรรมแก่อาจารย์ และนักศึกษาในวิทยาลัยครูสงขลา รวมทั้งการจัด ตั้งศูนย์ฝึกอบรมการบริหารทางจิตขึ้นในวิทยาลัยครูสงขลา และการวิจัยที่ควรจะจัดทำต่อไป คือ การศึกษาพัฒนาการทางจริยธรรมในสถาบันอื่นๆ และศึกษาหาวิธีที่จะช่วยเพิ่มระดับ พัฒนาการทางจริยธรรมของนิสิตนักศึกษาให้สูงขึ้น-
dc.description.abstractalternativePurpose of the study 1. To compare the moral development of first year and fourth year student of Songkhla Teachers' College 2. To compare the moral development of male and female students of Songkhla Teachers’ College 3. To analyze correlation between moral reasoning and future-orientedness of students of Songkhla Teachers 1 College Hypotheses 1. Moral development of Songkhla's Teachers College students first year is lower than the fourth year. 2. There is no difference in moral development between male and female students of Songkhla Teachers' College. 3. Moral reasoning level of Songkhla Teachers' College, students is a positive correlation with future-orientedness. Methodology and Procedures Subjects were 100 first year and fourth year, male and female students of Songkhla Teachers' College, selected with the use of stratified random sampling technique. The two instruments developed by the researcher, namely, a structured interview schedule, based on Lawrence Kohlberg'ร 6 stages of moral development and a future-orientedness test were employed in the collection of data for this inquiry. Raw data were analyzed by using statistical procedures in terms of Arithmetic Mean, standard Deviation, and Pearson's Product Moment Correlation Coefficient. T-test was utilized in testing statistical significance of the variables under study. Findings 1. Moral development of Songkhla's Teachers College students the first year was significantly lower than the fourth year at 0,01 level. 2. There was no significant statistical difference in moral development between male and female students of Songkhla Teachers' College at 0.01 level. 3. Moral reasoning level of Songkhla Teachers’ College students was found to have negative correlation with future-orientedness. Recommendations Efforts in cultivation of moral reasoning development towards higher stages were recommended with the use of seminars or group-discussion, involving both faculty and students of Songkhla Teachers' College. Additionally, the establishment of spiritual (mind) center in Songkhla Teachers' College was suggested. Further studies in the realm of moral development in other higher education institutions were encouraged, Some methodologies and procedures appropriate for the development of moral reasoning in college students were advocated.-
dc.format.extent564155 bytes-
dc.format.extent1202067 bytes-
dc.format.extent871197 bytes-
dc.format.extent661547 bytes-
dc.format.extent477432 bytes-
dc.format.extent661457 bytes-
dc.format.extent1342457 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาลัยครูสงขลา -- นักศึกษา-
dc.subjectศีลธรรมจรรยา-
dc.subjectจริยธรรมนักศึกษา-
dc.subjectSongkhla's Teachers College -- students-
dc.subjectStudent ethics-
dc.titleระดับการให้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักศึกษาวิทยาลัยครูสงขลาen
dc.title.alternativeLevels of moral reasoning of Songkhla's Teachers College studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineอุดมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
marut_da_front.pdf550.93 kBAdobe PDFView/Open
marut_da_ch1.pdf1.17 MBAdobe PDFView/Open
marut_da_ch2.pdf850.78 kBAdobe PDFView/Open
marut_da_ch3.pdf646.04 kBAdobe PDFView/Open
marut_da_ch4.pdf466.24 kBAdobe PDFView/Open
marut_da_ch5.pdf645.95 kBAdobe PDFView/Open
marut_da_back.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.