Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสรชัย พิศาลบุตร-
dc.contributor.authorยงยุทธ ไชยพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-09-15T03:17:26Z-
dc.date.available2012-09-15T03:17:26Z-
dc.date.issued2527-
dc.identifier.isbn9745631426-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22107-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2527en
dc.description.abstractเพื่อที่จะให้พัฒนาพื้นที่ยากจนในชนบท ซึ่งเป็นจุดสำคัญของการพัฒนาประเทศบรรลุถึงเป้าหมาย ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ควรจะได้มีการวางแผนเพื่อกำหนดพื้นทีเป้าหมาย และลำดับความสำคัญของพื้นที่ที่ได้รับการพัฒนา รวมทั้งระยะของโครงการที่จะเข้าไปช่วยเหลือ ให้สอดคล้องกับปัญหาของสภาพความยากจนที่ประชาชนในเขตชนบทกำลังประสบอยู่เพื่อช่วยให้ประชาชนเหล่านั้นมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น และสามารถที่จะช่วยเหลือและพัฒนาตนเองได้ต่อไปในอนาคตในการวิจัยนี้ได้สร้างแบบจำลองที่ใช้แสดงสภาพพื้นฐานความยากจนของประชาชนในชนบทระดับหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทย ด้วยวิธีการวิเคราะห์การถดถอยเชิงซ้อน ตัวชี้นำต่างๆ ที่นำมาพิจาณานั้น กำหนดมาจากปัญหาสภาพพื้นฐานความยากจนที่ประชาชนในชนบทของประเทศไทยกำลังเผชิญอยู่ จากนั้นจึงนำเอาผลที่ได้จากแบบจำลองมาทำการจำแนกกลุ่มหมู่บ้านในเขตชนบทภาคเหนือของประเทศไทยออกเป็น 3 กลุ่ม และ 5 กลุ่ม จากการจัดกลุ่มหมู่บ้านในชนบทภาคเหนือทั้งสิ้น 11,061 หมู่บ้าน จาก 17 จังหวัด คือ กำแพงเพชร เชียงราย เชียงใหม่ ตาก นครสวรรค์ น่าน พะเยา พิจิตร พิษณุโลก เพชรบูรณ์ แพร่ แม่ฮ่องสอน ลำปาง ลำพูน สุโขทัย อุตรดิตถ์ อุทันธานี นั้นปรากฏว่า จากการแบ่งกลุ่มหมู่บ้านออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ยากจนกลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ปานกลาง และกลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ดี ร้อยละ 31.76 ของ หมู่บ้านทั้งหมดตกอยู่ในกลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ยากจน ร้อยละ 41.70 อยู่ในกลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ปานกลาง และร้อยละ 26.54 อยู่ในกลุ่มที่มีสภาพความเป็นอยู่ดี และจากการแบ่งกลุ่มหมู่บ้านออกเป็น 5 กลุ่ม ปรากฏว่า กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่มีความเป็นอยู่ยากจน มีอยู่ร้อยละ 13.61 กลุ่มที่ 2 ซึ่งเป็นกลุ่มที่มีความเป็นอยู่ค่อนข้างยากจน มีอยู่ร้อยละ 20.54 เมื่อพิจารณาจากการจัดกลุ่มหมู่บ้านออกเป็น 5 กลุ่มนี้ สองกลุ่มแรกเป็นกลุ่มหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรวนใจที่จะให้ความช่วยเหลือพัฒนาในด้านต่างๆ กลุ่มที่ 3 และกลุ่มที่ 4 ซึ่งมีสภาพที่ดีกว่า 2 กลุ่มแรกนั้น มีหมู่บ้านตกอยู่ในสองกลุ่มนี้ร้อยละ 36.34 และ 20.88 ตามลำดับ สำหรับกลุ่มที่ 5 ซึ่งจัดเป็นกลุ่มที่มีความเป็นอยู่ดีที่สุดนั้น มีหมู่บ้านในกลุ่มนี้เพียงร้อยละ 8.63 เท่านั้น-
dc.description.abstractalternativeDevelopment in rural poverty, such that helping people in the area to have better living and then after that they can help and develop themselves, can reach the target if development planning and type of problems that people in rural poverty area suffered have been studied. Then specification of the poverty area and ranking of the important of the poverty area should be done for the development planning in order to allocate suitable subsidary projects for the people in that area. In this research multiple regression analysis, was used in order to construct the model that can indicate poverty of the people in the rural area of the northern region of Thailand. All of vari¬ables in the model were set from problems of living that people in the rural poverty area faced. From the model, the poverty score in term of average annual income of people in the villages of rural area are computed for stratification purpose. Then by using Dalenius method the villages in rural area of northern region of Thailand are stratified into 3 and 5 strata. From Dalenius' Method 11,061 villages of 17 provinces in northern region of Thailand; Kampaengpetch, Chiang-Rai, Chiang-Mai, Tak, Nakornsawan, Nan, Pha-Yao, Pichit, Pisanulok, Petchaboon, Phare, Mae-Hongson, Lampang, Lumpoon, Sukothai, utraradit and uthaitani were stratified into 3 and 5 strata. By using the criteria for 3 strata, poor area, rather poor area and non-poor area the result is 31.76 % of the villages are in the first stratum; specified as poor villages; 41.70 % of the villages are in the rather poor stratum and 26.54 % of the villages are in the non-poor stratum. By using the criteria for 5 strata the result is the first stratum which is the poorest area consists of 13.61 % of the villages, the second stratum which is a little bit better than the first one consists of 20.54 % of the villages; notify that these first two strata are the most important groups for development works; the third and the fourth stratum are better than the first two consist of 36.34 % and .20.88 % and for the last stratum it contains only 8.83 % of the villages.-
dc.format.extent431675 bytes-
dc.format.extent316587 bytes-
dc.format.extent583576 bytes-
dc.format.extent452968 bytes-
dc.format.extent524483 bytes-
dc.format.extent327437 bytes-
dc.format.extent3047254 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการจัดกลุ่มชนบทยากจนระดับหมู่บ้านในภาคเหนือของประเทศไทยen
dc.title.alternativeStratification of rural poverty area in Northern region of Thailanden
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
yongyuth_ch_front.pdf421.56 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_ch1.pdf309.17 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_ch2.pdf569.9 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_ch3.pdf442.35 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_ch4.pdf512.19 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_ch5.pdf319.76 kBAdobe PDFView/Open
yongyuth_ch_back.pdf2.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.