Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22247
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ องค์ครุฑรักษา-
dc.contributor.authorวรรธนี จันทรมิตรี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-10-01T07:35:58Z-
dc.date.available2012-10-01T07:35:58Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22247-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง ”การเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการขับขี่ยานพาหนะของกลุ่มวัยรุ่น” มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)เพื่อศึกษารูปแบบการเปิดรับสื่อของกลุ่มวัยรุ่นที่ขับขี่ยานพาหนะ(2)เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อต่อทัศนคติของกลุ่มวัยรุ่นที่ขับขี่ยานพาหนะ(3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับสื่อต่อพฤติกรรมการขับขี่ยานพาหนะของวัยรุ่นที่ขับขี่ยานพาหนะ โดยในศึกษานี้ใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างคือวัยรุ่นอายุ 16-22 ปี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ถึงมหาวิทยาลัยปีที่ 4 ที่ขับขี่ยานพาหนะในกรุงเทพมหานครในสถานที่ที่เป็นแหล่งรวมตัวของกลุ่มวัยรุ่นที่ขับขี่ยานพาหนะเช่น สยามสแควร์ ห้างสรรพสินค้า และมหาวิทยาลัยจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่า สื่อที่กลุ่มตัวอย่างเปิดรับมากที่สุดคือโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ต นอกจากนี้การเปิดรับสื่อกับทัศนคติและพฤติกรรมการขับขี่ของกลุ่มวัยรุ่นไม่มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สื่อมวลชนไม่ได้มีอิทธิพลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่าง ดังนั้นการขับขี่ที่หวาดเสียวโลดโผนในสื่อมวลชนจึงไม่มีผลกระทบต่อกลุ่มตัวอย่างหากแต่เป็นสื่อบุคคลซึ่งจากการศึกษาพบว่าสื่อบุคคลที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติและพฤติกรรมของกลุ่มตัวอย่างมากที่สุดคือ ครอบครัว เพื่อน เนื่องจากเป็นบุคคลที่ใช้เวลาด้วยมากที่สุดจึงได้รับอิทธิพลจากทัศนคติและพฤติกรรมของสื่อและบุคคลนั้นๆen
dc.description.abstractalternativeThe study of “Teenagers’ media exposure and their driving and riding behavior” was conducted to 1) study patterns of media exposure in teenagers who drive 2) study relations between media exposure and attitude in driving in teenagers 3) study relations between media exposure and driving behavior in teenagers. This study uses questionnaires to collect data. The study sample included 400 young adults, aged 16-22, from 10th grade high school to university seniors who drive in Bangkok in areas where there are high percentage of young adult drivers, including major shopping areas and universities. The study found that the media the sample group was exposed to most are Internet and television. Still, this study found that the media does not influence driving attitudes and habits of this study group. Therefore, the portrayal of unsafe driving in the media does not affect the study group as a whole but can affect individuals. The study also found that the factors most influential in driving attitude and behavior are indeed family and friends, persons the study group spends most of their time with.en
dc.format.extent2089041 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.850-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวัยรุ่นen
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสารen
dc.subjectการขับขี่จักรยานยนต์en
dc.subjectการเปิดรับสื่อen
dc.titleการเปิดรับสื่อกับพฤติกรรมการขับขี่ยานพาหนะของกลุ่มวัยรุ่นen
dc.title.alternativeTeenagers’ media exposure and their driving and riding behavioren
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorworawan.o@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.850-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wattanee_ja.pdf2.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.