Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22249
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ องค์ครุฑรักษา-
dc.contributor.authorทสมา ทองภูสวรรค์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-10-01T07:45:56Z-
dc.date.available2012-10-01T07:45:56Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22249-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้และจดจำตราสินค้าของผู้บริโภคและตราสินค้า รวมถึงศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้าของผู้บริโภคและคุณสมบัติของตราสินค้า โดยงานวิจัยนี้มุ่งศึกษาการใช้ตราสินค้าเพื่อการสื่อสารคุณสมบัติของตราสินค้าขององค์กรไปยังผู้บริโภค โดยศึกษาจากมุมมองของผู้บริโภคเป็นหลัก โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ที่ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) โดยการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเลือกประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ประชาชนทั้งเพศชายและหญิงที่อาศัยอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ที่มีเงินเดือนมากกว่า 10,000 บาทขึ้นไป และมีอายุตั้งแต่ 19 – 40ปี ผลการวิจัย พบว่าการรับรู้และจดจำสัญลักษณ์ตราสินค้ากับการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้า มีความสัมพันธ์กัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 และ .01 ในขณะที่ การรับรู้สัญลักษณ์ตราสินค้าสายการบินไทย กับการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้านั้น ไม่มีความสัมพันธ์กัน การจดจำตราสัญลักษณ์ตราสินค้าของตราสัญลักษณ์ Starbuck กาแฟวาวี Heineken และเบียร์สิงห์มีความสัมพันธ์กับการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้า ในปัจจัยด้านรูปภาพมากที่สุด สายการบิน Japan Airline มีความสัมพันธ์กับการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้า ในปัจจัยด้านสีมากที่สุด และสายการบินไทย มีความสัมพันธ์กับการตีความหมายของคุณสมบัติของสินค้า ในปัจจัยด้านรูปทรงของตราสัญลักษณ์มากที่สุดen
dc.description.abstractalternativeThis research was aimed to examine: (1) the relationship of brand meaning and perception of product logo, and (2) the relationship between consumer brand recognition and brand logo. The study employed quantitative research using a questionnaire with a sample group of 400 Bangkok residents, aged from 19 to 40 years. Result showed that brand recognition was significantly and positively correlated with brand perception (p<0.05 and p<0.01). Still, the Thai Airways International’s brand recognition showed no significant correlation to brand perception. Furthermore, logo recognition of Starbucks, Wawee, Heineken, and Sigha beer showedsignificant positive correlation with product interpretation in the dimension of picture the most. Japan Airline showed significant positive correlation for product interpretation foremost in color. Furthermore, Thai Airways Internationalshowed significant positive correlation for product interpretation foremost in shape.en
dc.format.extent2755391 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.852-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการรับรู้en
dc.subjectการรับรู้ภาพen
dc.subjectการจำ (จิตวิทยา)en
dc.subjectโลโก (สัญลักษณ์)en
dc.subjectการแปลความหมายภาพen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การจดจำ และการตีความหมายของตราสัญลักษณ์en
dc.title.alternativeThe relationship of perception, recognition and interpretation of product’s logoen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorworawan.o@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.852-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tasama_th.pdf2.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.