Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2227
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | วิวัฒน์ ตัณฑะพานิชกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมเคมี | - |
dc.date.accessioned | 2006-08-26T07:04:30Z | - |
dc.date.available | 2006-08-26T07:04:30Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2227 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ได้ศึกษาการอบแห้งชิ้นมันสำปะหลัง (ขนาด 3 มม. X 5 มม. X 5 มม.) ทั้งชั้นบาง (5 ซม.) และชั้นหนา (40 ซม.) ในเครื่องอบแห้งแบบไหลผ่านเพื่อดูอิทธิพลที่ความเร็วลมและอุณหภูมิลมร้อนมีต่อเส้นลักษณะเฉพาะของการอบแห้งและพัฒนา แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เพื่อใช้ในการคำนวณการกระจายความชื้นของชั้นวัสดุและเวลาที่ต้องใช้ในการอบแห้ง จากการทดลองอบแห้งชั้นมันสำปะหลัง 3 กรณีคือ กรณีอบแห้งแบบปกติ (ไม่มีการผสมวัสดุหรือสลับทิศทางลมร้อนเป็นครั้งคราว) กรณีผสมวัสดุเป็นครั้งคราวและกรณีสลับทิศทางลมร้อนเป็นครั้งคราวได้พบว่าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์สามารถทำนายเวลาที่ต้องใช้ในการอบแห้งได้ใกล้เคียงกัน ผลการทดลองโดยมีความคลาดเคลื่อนสูงสุดไม่เกิน 5.3%, 3.2% และ 7.7% สำหรับการอบแห้งแบบปกติ แบบผสมวัสดุเป็นครั้งคราว (ทุกๆ 150 นาที) และแบบสลับทิศทางลมร้อนเป็นครั้งคราว (ทุกๆ 30 นาที) ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบเวลาที่ต้องใช้ในการอบแห้งพบว่า การอบแห้งโดยผสมวัสดุเป็นครั้งคราวจะใช้เวลาในการอบแห้งน้อยกว่าหรือเท่ากับการอบแห้งแบบปกติเสมอ (น้อยกว่าถึง 14.8%) ส่วนการอบแห้งโดยสลับทิศทางลมร้อนเป็นครั้งคราวแทบไม่มีผลต่อการประหยัดเวลาในการอบแห้งและในบางเงื่อนไขอาจเสียเวลามากกว่าการอบแห้งแบบปกติ ในกรณีการอบแห้งโดยผสมวัสดุเป็นครั้งคราว ช่วงห่างของเวลา theta[subscript m] (ช่วงเวลาก่อนการผสมวัสดุแต่ละครั้ง) ที่เหมาะสมที่สุดในการลดเวลาอบแห้งก็คือค่า theta[subscript m] ที่สามารถหารเวลา theta[subscript f] (เวลาที่ต้องใช้เพื่อให้ความชื้นเฉลี่ยสุดท้ายของชั้นวัสดุเท่ากับค่าที่ต้องการ) ของกรณีการอบแห้งแบบปกติได้ลงตัวหรือเกือบลงตัวที่สุด | en |
dc.description.abstractalternative | The present work investigated the drying of both thin (5 cm) and thick (40 cm) of tapioca chips (average size 3 mm x 5 mm x 5 mm) in a through-flow dryer to understand the effects of hot air velocity and temperature on the drying characteristic curve and developed a mathematical model to calculate the profile of moisture content in the bed and the required drying time. From the experiments, on 3 cases of tapioca drying, i.e. the case of normal drying (No periodic mixing of material or alternating the hot air current), the case of mixing the material periodically and the case of alternating the hot air current periodically, it was found that the mathematical model was able to predict required drying times that were close to the experimental results with maximum erro of 5.3%, 3.2% and 7.7% for the case of normal drying, of mixing the material periodically (every 150 minutes) and of alternating the hot air current periodically (every 30 minutes), respectively. When the required drying times were compared, it was found that periodic mixing invariably took less (up to 14.8% less) than or equal to the case of normal drying. On the other hand, the case of drying with periodic alternating of the hot air current hardly had any effect on the drying time and in some instances might take longer than the case of normal drying. In case of drying with periodic mixing, the optimal time interval theta[subscript m] (between mixing operation) that minimized the drying time was such a value of theta[subscript m] that could exactly or almost exactly divide theta[subscript f] (the drying time required to reduce the average moisture content down to a desired value) of the case of normal drying. | en |
dc.description.sponsorship | ทุนอุดหนุนเพื่อเพิ่มผลและพัฒนาประสิทธิภาพทางวิชาการ | en |
dc.format.extent | 77213697 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | มันสำปะหลัง--การอบแห้ง | en |
dc.subject | ผลิตผลเกษตร--การอบแห้ง | en |
dc.subject | เครื่องอบแห้งแบบไหลผ่าน | en |
dc.title | การประหยัดพลังงานในการอบแห้ง ผลิตภัณฑ์เกษตรโดยเครื่องอบแห้งแบบไหลผ่าน : รายงานการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Energy conservation in the drying of agricultural products in a through-flow dryer | en |
dc.type | Technical Report | en |
Appears in Collections: | Eng - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wiwut_energy.pdf | 20.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.