Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22491
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิสุทธ์ บุษยกุล-
dc.contributor.authorเสาวภา เจริญขวัญ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-09T07:59:07Z-
dc.date.available2012-10-09T07:59:07Z-
dc.date.issued2520-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22491-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2520en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษารวบรวมเรื่องราวเกี่ยวกับประเพณีการแต่งงานของชาวอารยันอินเดียในสมัยพระเวท ซึ่งเริ่มต้นประมาณ 3,500 ปีล่วงมาแล้ว คือ นับตั้งแต่สมัยแรกที่ชาวอารยันอพยพเข้ามาตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศอินเดีย จนกระทั่งได้แผ่ขยายดินแดนไปสู่ภาคตะวันออก และตั้งหลักแหล่งในบริเวณที่ราบตอนกลางของประเทศ ในสมัยดังกล่าวนี้ ปรากฏว่าการแต่งงานได้เป็นขนบประเพณีที่ตั้งมั่นแล้วในสังคมอารยันอินเดีย ดังมีหลักฐานในคัมภีร์ฤคเวท และสัหิตาสมัยหลัง อันได้แก่ คัมภีร์ยชุรเวท สามเวท อถรรพเวท ตลอดจนคัมภีร์พราหมณะ และอุปนิษัท อนึ่ง วิทยานิพนธ์นี้ยังมุ่งที่จะเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับลักษณะของความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีการแต่งงานของชาวอารยันอินเดีย กับประเพณีเดิมของไทยด้วย ในการศึกษาเรื่องราวดังกล่าวนี้ ผู้วิจัยได้ค้นคว้ารวบรวมหลักฐานและข้อมูลจากคัมภีร์ต่าง ๆ ในสมัยพระเวท โดยเฉพาะจากคัมภีร์ฤคเวท และอถรรพเวท รวมทั้งคฤหยสูตร ซึ่งเป็นคัมภีร์เกี่ยวกับพิธีกรรมประจำบ้าน ที่แต่งขึ้นในสมัยหลังพระเวท นอกจากนี้ ยังได้อาศัยตำราต่าง ๆ ที่นักปราชญ์ชาวอินเดียและชาวต่างประเทศ ได้ค้นคว้ารวบรวมขึ้นไว้ เพื่อประกอบการวินิจฉัยด้วย เนื้อเรื่องของวิทยานิพนธ์ กำหนดออกเป็น 6 บท บทแรกเป็นบทนำ กล่าวถึงหัวข้อวิทยานิพนธ์ ตลอดจนวิธีดำเนินการวิจัย บทที่ 2 กล่าวถึงสภาพสังคมอารยันสมัยพระเวทโดยสังเขป เพื่อเป็นพื้นฐานความเข้าใจในเรื่องประเพณี บทที่ 3 กล่าวถึงลักษณะโดยทั่วไปของการแต่งงาน อันได้แก่ จุดประสงค์ของการแต่งงาน ชีวิตแต่งงาน รูปแบบของการแต่งงาน ข้อกำหนดเกี่ยวกับการแต่งงาน และพันธะของการแต่งงาน บทที่ 4 เน้นถึงพิธีกรรมแต่งงานในสมัยที่แต่งคัมภีร์ฤคเวท อถรรพเวท และพราหมณะ เพื่อแสดงวิวัฒนาการของประเพณี บทที่ 5 วิเคราะห์ถึงมูลเหตุของการทำพิธีกรรม รวมทั้งพิจารณาถึงเหตุผลและความหมายของพิธีกรรมบางอย่าง จากนั้นจึงแสดงความสัมพันธ์ระหว่างประเพณีการแต่งงานของอินเดีย กับประเพณีเดิมของไทย บทสุดท้าย เป็นข้อสรุปและข้อเสนอแนะ ผู้วิจัยได้ชี้ให้เห็นความสำคัญของประเพณีแต่งงาน และเสนอแนะให้มีการค้นคว้ารวบรวมประเพณีการแต่งงานในช่วงหลังสมัยพระเวท ตลอดจนประเพณีเกี่ยวกับชีวิตทีสำคัญอื่น ๆ ไว้ด้วย เพื่อให้การศึกษาเรื่องประเพณีสมบูรณ์ขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study Indo-Aryan wedding customs in the Vedic period, which began approximately 3,500 years ago. In those days the Aryans migrated and settled in the north-western part of India, then moved to the eastern part and finally settled in the basin of the central part of the country. At this ancient time, the institution of marriage was firmly established in Indian society as recorded in the Rig-Veda and other Later-Samhitas, viz. Yajur-Veda, Sama-Veda, Atharva-Veda, including Brahmanas and Upanisads. Also this thesis aims to present some concepts on the relationship between Indian and Thai wedding customs. References and data are gathered from various texts of the Vedic age, particularly the Rig-Veda, and Atharva-Veda, and also from the Grihya-Sutras or manuals of domestic rituals which were composed later. Furthermore, the books written by Indian and other scholars were studied and compared. The thesis is organized in to six chapters. The first chapter, the introductory part, discusses the thesis title and research methods. The second chapter summaries the background of Indian society in the Vedic period. This will give a simple understanding of Indian customs. The third chapter in general describes the idea of marriage such as the purpose of marriage, marriage life, forms of marriage, rules of marriage, and marriage obligations. The fourth chapter emphasizes the rituals in the age of Rig-Veda, Atharva-Veda, and Brahmanas so as to indicate the development of customs. The fifth chapter analyzes the origins of the wedding ceremony as well as the reasons and meanings of some rituals, followed by some comparisons in the wedding customs of the Indians and the Thais. The last chapter comprises conclusions which point out the importance of wedding customs and suggest the studies of these customs in the post Vedic period as well as collections of other customs relating to ways of living so as to make such custom studies as this thesis more comprehensive.-
dc.format.extent426626 bytes-
dc.format.extent389819 bytes-
dc.format.extent826621 bytes-
dc.format.extent2203429 bytes-
dc.format.extent1335629 bytes-
dc.format.extent902701 bytes-
dc.format.extent410270 bytes-
dc.format.extent674827 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleประเพณีการแต่งงานของอินเดียในสมัยพระเวทen
dc.title.alternativeIndian wedding customs in the Vedic perioden
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาตะวันออก-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saowapha_Ch_front.pdf416.63 kBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch1.pdf380.68 kBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch2.pdf807.25 kBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch3.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch4.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch5.pdf881.54 kBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_ch6.pdf400.65 kBAdobe PDFView/Open
Saowapha_Ch_back.pdf659.01 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.