Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22681
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิศรา ชูชาติ-
dc.contributor.authorปิยะมาศ บุญประกอบ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-10-16T06:19:11Z-
dc.date.available2012-10-16T06:19:11Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22681-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างก่อนและหลังเรียนของกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามวงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชัน (2) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ ตามวงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชันกับแบบปกติ (3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ระหว่างก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ตามวงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชัน และ (4) เพื่อเปรียบเทียบความสมารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนตามวงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชันกับแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนวัดบวรนิเวศที่เรียนภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 2 ห้องเรียน ห้องเรียนละ 39 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ (1) แบบวัดมโนทัศน์เรื่องแรงและการเคลื่อนที่ (2) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผล ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้วงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชันมีคะแนนเฉลี่ยมโนทัศน์เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่หลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้วงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชันมีคะแนนเฉลี่ยมโนทัศน์เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้วงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชัน มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผลหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. นักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้วงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชัน มีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผล สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนด้วยวิธีปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to compare the concepts about force and motion of the lower secondary school students before and after learning through the metacognitive learning cycle, (2) to compare the concepts about force and motion of the students who learned through the metacognitive learning cycle and those who learned through the conventional teaching method, (3) to compare the ability in reasoning thinking of the students before and after learning through the metacognitive learning cycle, and (4) to compare the ability in reasoning thinking of the students who learned through the metacognitive learning cycle and those who learned through the conventional teaching method. The samples of this study were 2 classrooms of mathayomsuksa three students of the Wat Boworniwet School in Bangkok who studied in the second semester of the academic year 2011. The research instruments were included (1) the force and motion concept test and (2) the reasoning thinking test. The results demonstrated that: 1. The students who learned through the metacognitive learning cycle had a mean score of concepts about force and motion higher than before the experiment at .05 level of significance. 2. The students who learned through the metacognitive learning cycle had a mean score of concepts about force and motion higher than those who learned through the conventional teaching method at .05 level of significance. 3. The students who learned through the metacognitive learning cycle had a mean score of reasoning thinking higher than before the experiment at .05 level of significance. 4. The students who learned through the metacognitive learning cycle had a mean score of reasoning thinking higher than those who learned through the conventional teaching method at .05 level of significance.en
dc.format.extent1510390 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.920-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en
dc.subjectเมตาคอคนิชันen
dc.subjectความคิดและการคิดen
dc.subjectScience -- Study and teaching ‪(Secondary)‬en
dc.subjectMetacognitionen
dc.subjectThought and thinkingen
dc.titleผลของการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์โดยใช้วงจรการเรียนรู้เมตาคอกนิชันที่มีต่อมโนทัศน์ เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่ และความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุผลของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeEffects of science instruction using metacognitive learning cycle on concepts of force and motions and ability in reasoning thinking of lower secondary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาวิทยาศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAlisara.C@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.920-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
piyamas_bo.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.