Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22819
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุทัศน์ รัตนเกื้อกังวาน | - |
dc.contributor.author | รพิพรรณ ศรีพุฒินิพนธ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-10-25T08:26:32Z | - |
dc.date.available | 2012-10-25T08:26:32Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22819 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยครั้งนี้ มีรายละเอียดครอบคลุมการศึกษางานบริหารจัดการคงคลังเลือดในโรงพยาบาลราชวิถี วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ คือ การเสนอมาตรการเพื่อใช้ในการบริหารหน่วยงานคงคลังเลือดให้เกิดการลดต้นทุน และพัฒนาคู่มือเพื่อใช้ปฏิบัติในคงคลังเลือด ซึ่งอธิบายวิธีการลดจำนวนเลือดที่สูญเสียไปโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์ที่เกิดขึ้นระหว่างการดำเนินการ ขั้นตอนของการศึกษาครั้งนี้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความต้องการเลือดในอดีต นำมาวิเคราะห์และประมวลผลของข้อมูลดังกล่าว โดยโปรแกรมทางสถิติ และนำเสนอ 2 วิธีในการพยากรณ์ความต้องการใช้เลือดในอนาคตเพื่อให้มีเลือดเพียงพอต่อความต้องการ คือการใช้ตารางคำนวณปริมาณเลือดที่ต้องเตรียมเพื่อใช้ในการผ่าตัดตลอดทั้งปี และการนำปริมาณการใช้เลือดที่เกิดขึ้นจริงในปีที่ผ่านมาคำนวณหาปริมาณเลือดที่ต้องเตรียมเพื่อใช้ในการผ่าตัดตลอดทั้งปี จากผลการวิจัยพบว่าการใช้ตารางคำนวณปริมาณเลือดที่ต้องเตรียมเพื่อใช้ในการผ่าตัดตลอดทั้งปี สามารถให้ค่าที่ใกล้เคียงกับความเป็นจริงที่เกิดขึ้นมากกว่านำเสนอมาตรการในการลดระยะเวลาในการคืนกลับเลือดจากแผนกต่างๆมายังคงคลัง และกำหนดนโยบายในการสั่งจองเลือดไปยังสภากาชาดไทยและโรงพยาบาลใกล้เคียง คำนวณหาปริมาณการสั่งจองเลือดที่เหมาะสมต่อครั้ง เพื่อลดต้นทุนในการใช้จ่ายสำหรับงานบริหารจัดการคงคลังเลือด การหาระดับคงคลังของเลือดในธนาคารเลือด และระดับการสั่งจองเลือดใหม่ ผลจากการเสนอมาตรการลดต้นทุนการจัดการคงคลัง สามารถพัฒนารูปแบบการบริหารพัสดุคงคลังของธนาคารเลือด และสามารถลดต้นทุนการจัดการคงคลังเลือดได้ประมาณ ร้อยละ 5 ต่อปี | en |
dc.description.abstractalternative | This research work covers the study of blood reserve management in Rajavithi Hospital. The main purpose of this study is to propose the invented measures required for a cost effective management of blood reserve unit and also to develop a manual for this blood reserve. The manual will describe ways to reduce wasted blood and unnecessary loss of blood in the process. The developed scenario of this study requires information collection regarding past blood demand at the hospital, assessing the collected information by using a computer program in statistic to investigate concern factor. The research proposed the method to forecast blood demand in next year by use the history data as two methods to support sufficient blood are the calculation table to see the demand blood used on surgery and the calculation on the preparation blood for surgery by use actual pass blood usage data. We found that the calculation table can forecast well when compared with the actual blood usage in follow year. Finally, we develop a manual work instruction to reduce long aging timing of return blood and suggest the ordering policy to deal with Thai Red Blood Cross center (TRC) and nearly hospital to Rajavithi Hospital. The design model indicates that there are essential causes affecting capital cost of the management of blood reserve namely, safety stock in blood bank and reorder point system level. The proposed measures could reduce capital cost of blood management by 5%. | en |
dc.format.extent | 3424136 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.932 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | โรงพยาบาลราชวิถี--การบริหาร | en |
dc.subject | คลังเลือด | en |
dc.title | การปรับปรุงการจัดการคงคลังเลือดในโรงพยาบาลราชวิถี | en |
dc.title.alternative | Improving blood inventory management in Rajavithi Hospital | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Suthas.R@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.932 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
rapipan_sr.pdf | 3.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.