Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2288
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอัญฑิการ์ โรงสะอาด-
dc.contributor.authorสุพัฒน์ สุกมลสันต์-
dc.contributor.authorอัครา อัศวนพคุณ-
dc.contributor.authorองค์อร ธนานาถ-
dc.contributor.authorกิ่งกมน ทวิชชาติวิทยากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. สถาบันภาษา-
dc.date.accessioned2006-08-29T10:41:01Z-
dc.date.available2006-08-29T10:41:01Z-
dc.date.issued2541-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2288-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์หลักของการวิจัยนี้เพื่อศึกษา ชนิด ปริมาณ ความถี่ และความต่อเนื่องของคำศัพท์ที่ใช้ในตำราเรียนภาษาอังกฤษ จำนวน 7 รายวิชา และเพื่อประเมินคำศัพท์ที่ใช้ในตำราเรียนดังกล่าว ซึ่งเปิดสอนในคณะเศรษฐศาสตร์และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี สำหรับนิสิตชั้นปีที่ 1-4 ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย การวิเคราะห์ข้อมูลอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชื่อ Roght Writer, SPSS/PC และโปรแกรมที่เขียนขึ้นเอง เพื่อวิเคราะห์ตำราเรียนที่ใช้จริง ผลของการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ปริมาณ ความถี่ และความต่อเนื่องของคำศัพท์ จำนวน 14 ชนิด ของรายวิชาต่าง ๆ มีความสอดคล้องกัน และต่อเนื่องกันตลอดทุกรายวิชา และคำศัพท์ที่ปรากฏในรายวิชาแรกจะมีจำนวนลดลงเรื่อย ๆ เมื่อไปปรากฏในรายวิชาอื่น ๆ ที่นิสิตต้องเรียนในภายหลังในชั้นปีที่สูงขึ้นตั้งแต่ 49.18% -5.46% เมื่อพิจารณาความต่อเนื่องหลายวิชา และตั้งแต่ 49.18%-21.52% เมื่อพิจารณาความต่อเนื่องระหว่างรายวิชา (เปรียบเทียบรายคู่) 2. เมื่อพิจารณาถึงชนิด ปริมาณ ความถี่ และความต่อเนื่องของคำศัพท์ที่ปรากฏในรายวิชาต่าง ๆ แล้ว พบว่าการใช้คำศัพท์ในตำราเรียนของรายวิชาต่าง ๆ มีลักษณะดีพอใช้en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate and assess kinds, quantity, frequency and recurrence of vocabulary items in English texts of 7 undergraduate courses which were taught at the Faculty of Economic and the Faculty of Commerce and Accountancy, Chulalongkorn University. COmputer programmes namely the Right Writer, SPSS/PC, together with another tailor-made programme, were used to and analyse the data. The findings of the study were as follows: 1. There was a correlation between quantity, frequency, and recurrence of all 14 kinds of vocabulary items in every course. The number of vocabulary items used in the first course decreased steadily in the following courses in linear progression at levels ranging from 49.18% to 5.46%. If the first course was compared with any one other, the percentages ranged from 49.18% to 21.52%. 2. When taking into account kinds, quantity, frequency and recurrence of vocabulary items in all courses, the statistics for all the above categories in all courses were accepetable.en
dc.description.sponsorshipทุนอุดหนุนการวิจัยจากเงินงบประมาณแผ่นดิน ปี 2537en
dc.format.extent25568358 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาอังกฤษ--ตำราสำหรับชนต่างชาติen
dc.subjectภาษาอังกฤษ--คำศัพท์en
dc.titleชนิด ปริมาณ และความต่อเนื่องของคำศัพท์ในตำราเรียนภาษาอังกฤษของสถาบันภาษาที่ใช้สอนในคณะเศรษฐศาสตร์และคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี : รายงานการวิจัยen
dc.title.alternativeThe study of types, quantity and continuity of the vocabulary in English textbooks used by students at the Faculty of Economics and the Faculty of Commerce and Accountancy at Chulalongkorn University-
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorrantikar2@gmail.com-
dc.email.authorsuphat.s@chula.ac.th-
dc.email.authorongont@yahoo.com-
dc.email.authorakara.a@chula.ac.th-
Appears in Collections:Lang - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
antika.pdf24.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.