Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22922
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุกรี รอดโพธิ์ทอง-
dc.contributor.advisorมนัส บุญประกอบ-
dc.contributor.authorกำพล ดำรงค์วงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-10-28T14:41:42Z-
dc.date.available2012-10-28T14:41:42Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746391828-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22922-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractพัฒนาแบบจำลองคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะเพื่อสอนการสร้างผังมโนทัศน์ และตรวจสอบคุณภาพของแบบจำลองด้วยการนำแบบจำลองที่พัฒนาขึ้น มาใช้เป็นแบบจำลองในการสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะเรื่อง การสร้างผังมโนทัศน์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนเซนต์ฟรังซีสซาเวียร์คอนแวนต์ ปีการศึกษา 2540 จำนวน 40 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน ได้ข้อค้นพบดังนี้ 1. แบบจำลองคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ เพื่อสอนการสร้างผังมโนทัศน์มีองค์ประกอบ 5 ส่วน ดังนี้ 1.1 ความเชี่ยวชาญความรู้ (Expertise) เป็นส่วนที่ประกอบด้วยฐานความรู้ที่เป็นเนื้อหาเกี่ยวกับ การสอนวิธีสร้างผังมโนทัศน์ ทำงานร่วมกับส่วนการสร้างผังมโนทัศน์เพื่อตรวจคำตอบ หลังจากที่นักเรียนดำเนินการสร้างผังมโนทัศน์แล้ว 1.2 แบบจำลองนักเรียน (Student Model) แสดงภาพปัจจุบันในการแปลความหมายการตอบสนองของนักเรียน ซึ่งแสดงความรู้ของนักเรียนในลักษณะของกฎ (Rules) 1.3 ระบบการสอน (Instructional System) ประกอบด้วยกระบวนการสอนวิธีการสร้างผังมโนทัศน์ และการสอนให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่นักเรียน เพื่อแก้ไขมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อน โดยใช้ข้อมูลส่วนความเชี่ยวชาญความรู้ว่าจะต้องให้ข้อมูลอะไรแก่นักเรียน 1.4 การติดต่อกับนักเรียน (Student Interface) เป็นส่วนที่เกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างบทเรียนกับนักเรียน รูปแบบการปฏิสัมพันธ์ ได้แก่ การเลือกโดยการทำแถบดำ การคลิกเม้าส์ การพิมพ์ข้อความ และการลากไปวางในตำแหน่งที่ต้องการ 1.5 การสร้างผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) เป็นส่วนที่ให้นักเรียนสร้างผังมโนทัศน์ ด้วยการเลือกมโนทัศน์โดยการทำแถบดำ แล้วคลิกเม้าส์เพื่อเลือกมโนทัศน์นั้น จากนั้นใช้เม้าส์ลากมโนทัศน์มาวางตามตำแหน่งที่ต้องการ และพิมพ์คำเชื่อมเพื่อเชื่อมโยงมโนทัศน์เข้าด้วยกัน 2. ผลสัมฤทธิ์ในการสร้างมโนทัศน์ของนักเรียนกลุ่มทดลอง ที่เรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ ที่สร้างตามแบบจำลองที่พัฒนาขึ้น สูงกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeTo develop an intelligent computer-assisted instruction model for teaching concept mapping and to evaluate the quality of the model by implementing the model on intelligent computer-assisted instruction lesson development on "concept mapping" samples were 20 students in experimental group, and 20 students in control group of mathayom suksa 5 at St Fancis Xavier Convent school, academic year 1997. The finding of the research were as follow: 1. The intelligent computer-assisted instruction model for teaching concept mapping consisted of 5 elements : 1.1 Expertise, consisted of the knowledge base about how to make the concept mapping and to work with the concept mapping for checking what the student had done. 1.2 Student model, showed response in translating the meaning, by "If... then" rules learner's current. 1.3 Instructional system, consisted of teaching process on making concept mapping and giving more information from expertise to correct misconcept. 1.4 Student interface, was the interaction between the intelligent computer-assisted instruction lesson and the student. Formats of the interaction were labelling clicking mouse, typing and dragging. 1.5 Concept mapping, was the given part for a student to make the concept mapping by labelling, click mouse, and drag the labeled concept to the right position. 2. The achievement of the experimental group studied from the developed model was statistically significant than that of the control group.en
dc.format.extent819533 bytes-
dc.format.extent974083 bytes-
dc.format.extent1810040 bytes-
dc.format.extent890592 bytes-
dc.format.extent896593 bytes-
dc.format.extent844144 bytes-
dc.format.extent1621007 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectแบบจำลองen
dc.subjectคอมพิวเตอร์ช่วยการสอนแบบอัจฉริยะen
dc.subjectการสอนรายบุคคลen
dc.subjectความคิดรวบยอดen
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen
dc.titleการพัฒนาแบบจำลองคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบอัจฉริยะ เพื่อสอนการสร้างผังมโนทัศน์en
dc.title.alternativeThe development of an intelligent computer-assisted instruction model for teaching concept mappingen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาเอกes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSugree.R@chula.ac.th-
dc.email.advisormanatboo@swu.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kampol_Du_front.pdf800.33 kBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_ch1.pdf951.25 kBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_ch2.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_ch3.pdf869.72 kBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_ch4.pdf875.58 kBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_ch5.pdf824.36 kBAdobe PDFView/Open
Kampol_Du_back.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.