Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22993
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อมร จันทรสมบูรณ์ | - |
dc.contributor.author | ปัญจะ เปี่ยมพงศ์สานต์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-10-31T21:38:01Z | - |
dc.date.available | 2012-10-31T21:38:01Z | - |
dc.date.issued | 2517 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22993 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2517 | en |
dc.description.abstract | กิจการประกันภัยเป็นสถาบันทางการเงินที่สำคัญอันหนึ่ง และมีผู้ตอบระบบเศรษฐกิจเป็นอันมาก การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะของการประกันภัยในทางกฎหมายรวมตลอดถึงสิทธิและความรับผิดชอบของคู่สัญญา ย่อมมีส่วนช่วยอันสำคัญที่จะช่วยทำให้เข้าใจถึงขอบเขตการคุ้มครองของการประกันภัยได้ดียิ่งขึ้น สัญญาประกันภัยวินาศภัยเป็นสัญญาชดใช้ค่าเสียหาย ในความหมายที่ว่าเมื่อเกิดวินาศภัยขึ้นแล้ว ผู้ประกันภัยมีหน้าที่ที่จะต้องทำให้ผู้เอาประกันภัยกลับเข้าสู่ฐานะเดิมเหมือนเมื่อก่อนมีวินาศภัย เท่าที่จะสามารถกระทำได้ ผู้รับประกันภัยจะต้องไม่ทำให้ฐานะของผู้เอาประกันภัยภายหลังเกิดวินาศภัยดีขึ้น หรือเลวลงไปกว่าเดิม โดยความเป็นจริงแล้ว ค่าสินไหมทดแทนที่ผู้รับประกันภัยจะจ่ายนั้น ไม่จำเป็นต้องมีส่วนสัมพันธ์ใดๆ เลยจำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย เพราะจำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย เป็นแต่เพียงยอดเงินขั้นสูงสุดซึ่งผู้รับประกันภัยอาจจะต้องรับผิดชอบต่อผู้เอาประกันภัย และเป็นฐานะในการกำหนดเบี้ยประกันภัยเท่านั้น โดยปกติอัตราดอกเบี้ยประกันภัยจะมากหรือน้อยย่อมขึ้นอยู่กับลักษณะของภัยที่ผู้รับประกันภัยจะรับเสี่ยงเป็นสำคัญ ส่วนค่าสินไหมทดแทนนั้น กำหนดจากส่วนได้เสียทางทรัพย์สิน ซึ่งผู้เอาประกันภัยมีอยู่ในวัตถุที่เอาประกันภัยเพียงเท่าที่ต้องเสียหายเพราะเกิดวินาศภัย ความจำเป็นที่ต้องยึดหลักเช่นว่านี้เป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า กล่าวคือ หากผู้ยอมให้ผู้เอาประกันภัยได้รับชดใช้เกินกว่าจำนวนวินาศภัยที่แท้จริงแล้ว ก็เป็นที่แน่นอนว่า จะเป็นเหตุจูงใจให้ผู้เอาประกันภัยทำลายทรัพย์ที่เอาประกันภัย เพื่อหากำไรจากสัญญาประกันภัยซึ่งตนได้กระทำไว้ ในทางกลับกันถ้าผู้รับประกันภัยชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ผู้เอาประกันภัยน้อยกว่าที่เขาต้องเสียหายจริงๆ ทั้งที่จำนวนเงินซึ่งเอาประกันภัย ยังมีจำนวนสูงพอคุ้มกับความเสียหายที่แท้จริงแล้วเช่นนี้ ก็ย่อมถือได้ว่า สัญญาประกันภัยไม่บรรลุผลตามเจตนารมณ์ เช่นเดียวกับสัญญาในลักษณะอื่น สัญญาประกันภัยจะเกิดขึ้นได้ ก็แต่โดยคู่กรณีมีเจตนาถูกต้องตรงกัน ซึ่งการแสดงเจตนาอาจจะกระทำด้วยตนเองหรือโดยตัวแทนก็ได้ และตราบใดที่คำขอเข้าทำสัญญาประกันภัยยังไม่มีการสนองรับหรือบอกปัด ก็ต้องถือว่า คำขอเช่นว่านั้นเป็นเพียงคำเสนอ หรือข้อเสนอในการทำสัญญาเท่านั้น สัญญาประกันภัยจะเกิดขึ้นไม่ได้ เว้นแต่เสียว่าทั้งสองฝ่ายจะมีเจตนาถูกต้องตรงกัน และมีการตกลงตามเจตนาเช่นว่านั้น ในกรณีที่เกิดวินาศภัย ผู้รับประกันภัยจะขอให้ผู้เอาประกันภัยปฏิบัติให้ถูกต้องครบถ้วนตามข้อกำหนดในสัญญาเสียก่อนก็ได้ ทั้งนี้ ก็เพราะว่าการปฏิบัติตามข้อกำหนดในสัญญา เป็นเงื่อนไขบังคับก่อนอย่างหนึ่ง ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะต้องปฏิบัติ มิฉะนั้นย่อมไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ผู้รับประกันภัยชดใช้ค่าเสียหายให้แก่ตน | |
dc.description.abstractalternative | Insurance is a major financial institution and, as such, has a significant effect on the economy. An analysis of legal insuring aspects as well as rights and obligations of the contracting parties is important to the understanding of Insurance coverages. A contract of insurance against loss is a contract of indemnity. This means that the Insurer undertakes to place the insured after a loss as nearly as possible เท the same financial position as the insured was in Imme¬diately before the loss. The insured should be made neither better nor worse off as a result of the loss. The indemnity does not necessarily bear any relation to the sum insured, which is merely the limit which the insurers can be called upon to pay and the amount upon which the premium is computed. The rate of premium is normally measured by the character of the risk assumed. The indemnity is based upon the insured's pecuniary interest in as much of the subject-matter of the insurance as has been lost. The necessity of this principle is obvious. If the insured could recover more than a true indemnity there would be an immediate incentive for him to destroy property in order to make profit from the insurance contract. If the insured recovered less than a true indemnity even though the sum insured was adequate then the insurance contract would not be fulfilling its purpose. A contract of insurance, like other contracts, must be assented to by both parties either in person or by their agents. So long as an application for insurance has not been either accepted or rejected, it is merely an offer or proposal to make a contract. There can be no contract of insurance unless the minds of the parties have met in agreement. When the insurer is called upon to pay, in case of loss, he may justly insist upon a fulfillment of the terms of the contract. Compliance with the terms of the contract is a condition precedent to the right of recovery. | |
dc.format.extent | 939495 bytes | - |
dc.format.extent | 1070761 bytes | - |
dc.format.extent | 1786523 bytes | - |
dc.format.extent | 1853977 bytes | - |
dc.format.extent | 1115396 bytes | - |
dc.format.extent | 2486351 bytes | - |
dc.format.extent | 765160 bytes | - |
dc.format.extent | 390185 bytes | - |
dc.format.extent | 665968 bytes | - |
dc.format.extent | 373517 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ประกันวินาศภัย -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | |
dc.title | ประกันวินาศภัย : สิทธิและความรับผิดของคู่สัญญาและผู้รับประโยชน์ | en |
dc.title.alternative | Insurance against loss : rights and obligations of the contracting parties and the beneficiary | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Pancha_Pi_front.pdf | 917.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch1.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch2.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch3.pdf | 1.81 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch4.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch5.pdf | 2.43 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch6.pdf | 747.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch7.pdf | 381.04 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_ch8.pdf | 650.36 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Pancha_Pi_back.pdf | 364.76 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.