Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิติยวดี บุญซื่อ-
dc.contributor.authorไพโรจน์ สุขวงศ์วิวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-03T04:48:19Z-
dc.date.available2012-11-03T04:48:19Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.isbn9745620831-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23069-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ ในวิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 ในสามจังหวัดภาคใต้ตามความคิดเห็นของครู วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยไก้ศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 ปีการศึกษา 2524 และสอบถามความคิดเห็นของครูเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนด้านตัวนักเรียน ครู ผู้บริหาร หลักสูตร วิธีสอน-กิจกรรม อุปกรณ์ การวัดผลและ ภาษาถิ่น ในจังหวัดยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ตัวอย่างประชากรซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบง่ายประกอบด้วยนักเรียน 4,926 คนครู 264 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน และแบบสอบถามครูที่สอนต่อปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์ซึ่งมีลักษณะเป็นมาตราส่วนประเมินค่า ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเองทั้งสองอย่างจากนั้นได้วิเคราะห์หาข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำเสนอในรูปตารางและความเรียง ผลการวิจัย 1. ระดับผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนในวิชาภาษาไทย จากแบบประเมินผล ป. 02 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนบรรลุจุดประสงค์ระดับดี มีทั้งสิ้น 29 จุดประสงค์ ระดับปานกลาง 25 จุดประสงค์และระดับพอใช้ 1 จุดประสงค์ 2. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนบรรลุจุดประสงค์ระดับดี มีทั้งสิ้น 33 จุดประสงค์ และระดับปานกลาง 4 จุดประสงค์ 3. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนบรรลุจุดประสงค์ระดับดี มีทั้งสิ้น 29 จุดประสงค์ ระดับปานกลาง 10 จุดประสงค์ 4. ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ปรากฏว่า ผลสัมฤทธิ์ของนักเรียนบรรลุจุดประสงค์ระดับดีมาก มีทั้งสิ้น 5 จุดประสงค์ ระดับดี 24 จุดประสงค์ และระดับปานกลาง 21 จุดประสงค์ 5. ครูในจังหวัดระยา ปัตตานี และนราธิวาส มีความเห็นว่าไม่มีปัจจัยทั้ง 8 ด้านที่มีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์ในระดับมากที่สุด และมากมีเพียงแต่ระดับปานกลางซึ่งได้แก่ปัจจัยด้านตัวนักเรียนและภาษาถิ่น ส่วนปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์น้อยได้แก่ ปัจจัยด้านตัวครู หลักสูตร วิธีสอนกิจกรรม อุปกรณ์ และการวัดผล สำหรับปัจจัยด้านผู้บริหารนั้นมีผลกระทบต่อระดับผลสัมฤทธิ์ในวิชาภาษาไทยน้อยที่สุด
dc.description.abstractalternativePurpose The purpose of this research was to study the students' achievement and the factors involved in learning Thai lauguage subject of Prathorn Saksa one to four students' in the three Southern Provinces as perceived by the teachers’ opinions. Procedures The researcher studied the Prathom Suksa one to four students' achievement from the evaluation form no. 02 from the teachers' opinions concerning the facters involved the students’ achievement in the area of students themselves, teachers, administratiors, curriculum, teaching techniques, learning activities, learning materials, evaluation program, and the dialeets of the students. The randamly selected samples were 6,962 students and 264 teachers in Yala, Pattani and Narathiwat provinces. The instruments constucted by the researcher were the student's achievement criteria and the questionnaires for the teachers. The obtained data were then evaluated by using percentage, means, and standard diviation. Finding According to the data obtained, the students' achievement score in learning Thai Langnage Subject were as follows:- 1. Prathom Suksa One students passed Well level 29 objectives average level 25 objectives while only one objective passed fair level. 2. Prathom Suksa two students passed Well 33 objectives, and average 4 objectives. 3. Prathom Suksa three students passed Well 29 objectives, and average 10 objectives. 4. Prathom Suksa four students passed very Well 5 objectives Well 24, and average 5 objectives. 5. The samples v/ho were teachers of Prathom Suksa One to four in the three southern Provinces reported that there was no factor that has highest or high impact on students' achievement in learning Thai language subject. But there were some at the average level which were the personal factors of the students themselves, and their dialects. However, the less impact factors were teachers, curriculum, teaching technique, learning activities, learning materials and evaluation program. The least impact factor was the adiministrator of the schools.
dc.format.extent649769 bytes-
dc.format.extent851912 bytes-
dc.format.extent1637893 bytes-
dc.format.extent370382 bytes-
dc.format.extent5169787 bytes-
dc.format.extent2139323 bytes-
dc.format.extent1908373 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
dc.titleปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทย ของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสามจังหวัดภาคใต้ ตามความคิดเห็นของครูen
dc.title.alternativeFactors related to Thai language learning achievement of elementary school students in three Southern changwats according to elementary school teachers' opinionsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bhairoj_Su_front.pdf634.54 kBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_ch1.pdf831.95 kBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_ch2.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_ch3.pdf361.7 kBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_ch4.pdf5.05 MBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_ch5.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open
Bhairoj_Su_back.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.