Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23082
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวชิราพร อัจฉริยโกศล-
dc.contributor.advisorวิรุฬห์ ลีลาพฤทธิ์-
dc.contributor.authorภักดี ขจรไชยกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-03T08:29:50Z-
dc.date.available2012-11-03T08:29:50Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745661929-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23082-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบการระลึกต่อการระลึกได้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่ง ของโรงเรียนอนุบาลจังหวัดสุรินทร์ อำเภอเมือง จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 180 คน โดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratfied Random Sampling) แบ่งออกเป็น 3 ระดับ แยกตามสัมฤทธิผลทางการเรียนวิชาภาษาไทย เป็นกลุ่มสูง กลุ่มปานกลางและกลุ่มต่ำ กลุ่มละ 60 คน จากนั้นก็สุ่มแต่ละกลุ่มโดยวิธีสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ออกเป็น 4 กลุ่ม เพื่อรับการทดลองการใช้ตัวชี้แนะที่แตกต่างกัน 4 แบบ คือ แบบที่ 1 ผู้รับการทดลองเรียนโดยไม่มีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบการระลึก แบบที่ 2 ผู้รับการทดลองเรียนโดยไม่มีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอแต่มีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นทดสอบการระลึก แบบที่ 3 ผู้รับการทดลองเรียนโดยมีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอแต่ไม่มีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นทดสอบการระลึก แบบที่ 4 ผู้รับการทดลองเรียนโดยมีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบการระลึก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นภาพสีเหมือนจริงประกอบคำมีขนาด 10" × 10" จำนวน 60 ภาพขนาดของตัวอักษรที่ใช้เขียนกำกับภาพมีขนาดสูง 1 1/8" สีของตัวอักษรเป็นสีเขียว ตำแหน่งของตัวอักษรอยู่ด้านล่างของภาพ ภาพทั้งหมดสามารถจัดแบ่งออกเป็น 3 หมวดหมู่หมวดหมู่ละ 20 ภาพ เท่าๆ กัน คือ หมวดหมู่ผลไม้ หมวดหมู่สัตว์ หมวดหมู่ดอกไม้ กลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยมีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอจะเสนอภาพอย่างเป็นหมวดหมู่ ส่วนกลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยไม่มีการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำในขั้นการนำเสนอ จะเสนอภาพอย่างคละปะปนกัน กลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยมีการใช้ตัวชี้แนะในขั้นทดสอบการระลึก จะได้รับการชี้แนะให้ระลึกอย่างเป็นหมวดหมู่ กลุ่มตัวอย่างที่เรียนโดยไม่มีการใช้ตัวชี้แนะในขั้นทดสอบการระลึก จะให้ระลึกโดยเสรี (Free Recall) ทั้งนี้ใช้เวลาในขั้นการนำเสนอภาพ ภาพละ 3 วินาที และใช้เวลาในขั้นทดสอบการระลึก 15 นาทีเท่าๆ กันทุกกลุ่ม รวมเวลาที่ใช้ในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบการระลึก 18 นาที จากนั้นก็นำผลการทดสอบมาคำนวณโดยวิธีวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบ 2 ทาง และทดสอบความแตกต่างระหว่างกลุ่มโดยวิธีตูกี (Tukey) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ 1) แบบการใช้ตัวชี้แนะทั้งในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบ มีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างระลึกได้สูงกว่าทุกกลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 2) แบบการใช้ตัวชี้แนะในขั้นนำเสนอแต่ไม่ใช้ตัวชี้แนะในขั้นทดสอบ มีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างระลึกได้รองลงมา และมีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างระลึกได้สูงกว่าแบบการใช้ตัวชี้แนะในขั้นทดสอบแต่ไม่ใช่ตัวชี้แนะในขั้นการนำเสนออย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และสูงกว่าแบบการไม่ใช้ตัวชี้แนะในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) แบบการใช้ตัวชี้แนะในขั้นทดสอบแต่ไม่ใช่ตัวชี้แนะในขั้นการนำเสนอ มีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างระลึกได้สูงกว่าแบบการไม่ใช้ตัวชี้แนะในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) แบบการไม่ใช้ตัวชี้แนะในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบ มีผลทำให้กลุ่มตัวอย่างระลึกได้ต่ำสุด
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to examine the effects of using categorized pictures with verbal cues in presentation and testing stage on recall of Prathomsuksa One students. The subjects were one hundred and eighty students of Surin Kindergarten, Changwat Surin. According to their achievement in Thai Language, the subjects were classified into 3 achievement levels: high, medium, and low. Sixty students were randomly selected for each group. Fifteen students from each group, then, were randomly selected assigned into four experimental groups. The four experimental groups were presented categorized pictures with treatments of verbal cues at the presentation and testing stage. In the first treatment, subjects were not recieved verbal cues neither in presentation nor testing stage. In the second treatment, subjects were recieved verbal cues in the testing stage but not in the presentation stage. In the third treatment, subjects were recieved verbal cues in the presentation stage but not in the testing stage. In the last treatment, subjects were recieved verbal cues in both presentation and testing stage. The instrument were sixty 10" X 10" colored pictures with verbal cues of fruits, animals, and flowers. The experiment was almost the same for all the four experimental groups that the subjects were presented sixty categorized pictures and they were asked to recall the pictures at the testing stage. The differences of the presentation were that the verbal cues were given or not given in the presentation and the testing stage, according to the experimental groups. The data were analyzed by means of the Two-way Analysis of Variance. The pairwise differences were tested by Tukey Method. The findings were as follows: The fourth treatment which the verbal cues are given in both presentation and testing stage is the most effective upon students' recall at 0.01 level of confidence. The third treatment which the verbal cues are given in the presentation stage but not in the testing stage is more effective than the second treatment which the verbal cues are giyen in the tesing stage but not in the presentation stage at 0.05 level of confidence. And the third treatment is also effective than the first treatment which the verbal cues are not given neither in the presentation nor testing stage at 0.01 level of confidence. The second treatment which the verbal cues are given in the testing stage but not in the presentation stage is better than the first treatment which the verbal cues are not given neither in the presentation nor testing stages at 0.05 level of confidence. The first treatment which the verbal cues are not given at all is the least effective.
dc.format.extent511048 bytes-
dc.format.extent519788 bytes-
dc.format.extent818485 bytes-
dc.format.extent385073 bytes-
dc.format.extent373833 bytes-
dc.format.extent706893 bytes-
dc.format.extent591065 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการระลึก (จิตวิทยา)
dc.subjectความจำ
dc.subjectการเรียนรู้ (จิตวิทยา)
dc.subjectภาพในการศึกษา
dc.subjectการสอน -- อุปกรณ์
dc.titleผลการใช้ตัวชี้แนะการจัดหมวดหมู่ของภาพประกอบคำ ในขั้นการนำเสนอและในขั้นทดสอบการระลึกได้ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่หนึ่งen
dc.title.alternativeEffects of using categorized pictures with verbal cues in presentation and testing stage on recall of prathomsuksa on studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakdee_Ka_front.pdf499.07 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_ch1.pdf507.61 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_ch2.pdf799.3 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_ch3.pdf376.05 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_ch4.pdf365.07 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_ch5.pdf690.33 kBAdobe PDFView/Open
Pakdee_Ka_back.pdf577.21 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.