Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23135
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิมลศิริ ชำนาญเวช | |
dc.contributor.author | ประทีป ทองสิมา | |
dc.date.accessioned | 2012-11-05T10:01:25Z | |
dc.date.available | 2012-11-05T10:01:25Z | |
dc.date.issued | 2523 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23135 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523 | en |
dc.description.abstract | ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีนั้นแต่ละประเทศต่างก็มีวิธีพิจารณาพิพากษาอรรถคดีเป็นของตนเองโดยเฉพาะ ทั้งนี้ ย่อมขึ้นอยู่กับประวัติและความเป็นมาทางด้านการบริหารกระบวนการยุติธรรมของแต่ละชาติ ตลอดจนขนบธรรมเนียมประเพณีและวิถีการดำเนินชีวิตของกลุ่มชนเหล่านั้นเป็นสำคัญ ทั้งนี้แต่ละประเทศต่างก็เลือกวิธีการที่เห็นว่าเป็นการประสิทธิประสาทความยุติธรรมให้แก่คู่กรณีอย่างแท้จริง ระบบลูกขุนก็เป็นวิธีการพิจารณาอรรถคดีอีกวิธีหนึ่งซึ่งใช้กันอย่างแพร่หลายในประเทศที่ใช้กฎหมายคอมมอนลอว์ และอาจกล่าวได้ว่าระบบลูกขุนนี้ได้รับความนิยมอย่างยิ่งในประเทศอังกฤษ จนกระทั่งประเทศอังกฤษกลายเป็นแบบของการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีแบบลูกขุน ซึ่งกว่าระบบลูกขุนของประเทศอังกฤษจะสามารถประสิทธิประสาทความยุติธรรมให้แก่คู่กรณีได้ดีนั้นก็ได้ผ่านขั้นตอนและวิวัฒนาการมาเป็นระยะเวลานานพอสมควร จนอาจกล่าวได้ว่าระบบลูกขุนเป็นรากแก้วในกระบวนการยุติธรรมของประเทศอังกฤษ ในประเทศอื่นที่ใช้กฎหมายคอมมอนลอว์ก็เช่นกัน ได้มีการนำเอาระบบลูกขุนไปใช้ เช่น สหรัฐอเมริกา แต่ได้นำเอาไปใช้โดยดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของแต่ละประเทศ และแม้กระทั่งประเทศที่ใช้กฎหมายในระบบประมวลกฎหมายก็ยังนำเอาระบบลูกขุนไปใช้ในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีในประเทศของตน คือ ประเทศฝรั่งเศสและสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน ซึ่งในการนำเอาไปใช้ก็ได้มีการดัดแปลงให้เหมาะสมเช่นกัน ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีระบบศาลและการพิจารณาคดีเป็นของตนเอง ใช้ระบบประมวลกฎหมายและมิได้ใช้ระบบลูกขุนในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดี แต่ก็เป็นที่ยอมรับว่าการพิจารณาคดีโดยระบบลูกขุนนั้นเป็นวิธีการพิจารณาที่ให้ความยุติธรรมแก่คู่ความได้อย่างดีอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งเมื่อได้พิจารณาเฉพาะแต่ในส่วนที่เป็นประโยชน์ของระบบลูกขุนและนำเอามาปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการพิจารณาความของไทยแล้ว อาจทำให้คู่ความมีความรู้สึกว่าในการพิจารณาพิพากษาคดีนั้นคู่ความได้รับความยุติธรรมอย่างเท่าเทียมกัน ซึ่งความรู้สึกเช่นนี้ย่อมเป็นวิธีการอย่างหนึ่งที่จะทำให้ระบบการยุติธรรมภายในประเทศเป็นที่ยอมรับนับถือได้โดยทั่วไป อันเป็นบ่อเกิดแห่งความมั่นคงของชาติอีกทางหนึ่งด้วย | |
dc.description.abstractalternative | Every country which has a judicial institution with the duty to dispense justice according to the law generally has its own unique procedure for trying the case. The characters of the trial procedure of each country depends very much on the history and development of the national judicial system, including such other factors as customs, traditions, and the ways of life of its members. However, it must be able to demonstrate to the public that by applying such trial procedure, justice is being done to both parties to the case. The jury system is a trial procedure which practice in the Common Law countries, and it has been closely identified with Britain, so much so that it is taken that the jury system originated in that country. However, the jury system in Britain has evolved and developed over a long period of time before it is generally accepted that the system of trial by jury in Britain is capable of dispensing justice to both parties to the case. In other Common Law countries, the jury system has been adopted with some modifications i.e. the United States of America adopted the jury system of the British model with certain modifications so that the system is suitable for the social, economic and political conditions of the United States. Even the countries with codified legal system such as France and the Federal Republic of Germany have adopted the jury system but they also modified it, so that it can fit neatly into their legal system. Though Thailand which has a codified legal system with its own unique judicial and trial system, did not adopt the jury system, it is widely accepted that the system of trial by jury is very capable of dispensing justice to the parties to the case. If the advantages of the jury system are adopted and used in the process of reforming the law on the trial procedure of Thailand, both parties to the case may feel and accept that all have been done to grant both of them justice equally. This feeling and acceptance will elevate the judicial system into its proper place of great respect and thereby strengthen the security of the nation. | |
dc.format.extent | 708414 bytes | |
dc.format.extent | 359950 bytes | |
dc.format.extent | 4721867 bytes | |
dc.format.extent | 1327833 bytes | |
dc.format.extent | 1119831 bytes | |
dc.format.extent | 683578 bytes | |
dc.format.extent | 2709317 bytes | |
dc.format.extent | 1240291 bytes | |
dc.format.extent | 419372 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | ระบบลูกขุนสำหรับประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | Trial by jury in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Parteep_Th_front.pdf | 691.81 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch1.pdf | 351.51 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch2.pdf | 4.61 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch3.pdf | 1.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch4.pdf | 1.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch5.pdf | 667.56 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch6.pdf | 2.65 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_ch7.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Parteep_Th_back.pdf | 409.54 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.