Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิรมล สวัสดิบุตร | - |
dc.contributor.advisor | วัชรี ทรัพย์มี | - |
dc.contributor.author | ประพิณ จินตวรรณ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-06T07:41:11Z | - |
dc.date.available | 2012-11-06T07:41:11Z | - |
dc.date.issued | 2529 | - |
dc.identifier.isbn | 9745669792 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23173 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529 | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเสนอรูปแบบการจัดบริการแนะแนวที่เหมาะสมในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร วิธีดำเนินการวิจัย ผู้วิจัยสร้างรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร และสร้างแบบสอบถามตามรูปแบบนั้นให้ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจแก้ไข แล้วนำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแล้วไปให้ตัวอย่างประชากรตอบ ตัวอย่างประชากรประกอบด้วย ผู้บริหารในหน่วยบริหารการศึกษาจังหวัดชุมพร ครูใหญ่ อาจารย์ใหญ่ ผู้อำนวยการ ครูประจำชั้นและผู้ปกครองนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร จำนวน 87 โรงเรียน รวมตัวอย่างประชากรทั้งสิ้น 423 คน สุ่มตัวอย่างประชากรด้วยวิธีสุ่มแบบแยกประเภทและแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนำความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของตัวอย่างประชากรมาปรับปรุงแก้ไขและเพิ่มเติมรูปแบบให้เป็นรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาที่เหมาะสมยิ่งขึ้น ผลการวิจัย ตัวอย่างประชากรเห็นด้วยอย่างยิ่งกับรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในเรื่องต่อไปนี้ คือ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ การเริ่มต้นงานแนะแนวในโรงเรียน หน้าที่และความรับผิดชอบของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนโครงการตรวจสุขภาพนักเรียนโดยครูประจำชั้น โครงการจัดป้ายสนเทศ โครงการทำระเบียนสะสม โครงการสำรวจปัญหานักเรียน โครงการปฐมนิเทศ และการประเมินผลการจัดบริการแนะแนวของโรงเรียน และเห็นด้วยกับความหมายของการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา โครงการแนะแนวในโรงเรียน 13 โครงการ และงบประมาณการเงิน นอกจากนี้ตัวอย่างประชากรยังได้ให้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ซึ่งผู้วิจัยได้นำมาปรับปรุง แก้ไขและเพิ่มเติมรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชุมพร ให้มีความเหมาะสมยิ่งขึ้น | |
dc.description.abstractalternative | Purpose The purpose of this research was to introduce the appropriate model of guidance services in elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary Education. Procedure The researcher constructed the proposed model of guidance services in elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary Education and 2 questionnaires. After improving the model and its attached questionnaires according to the experts’ advice, the model and the attached questionnaires were distributed to the samples who were administrators working at the Office of Chumphon Provincial Primary Education, school administrators, classroom teachers and parents of the students in 87 elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary Education. The total samples were 423. They were chosen by means of stratified random sampling and purposive sampling techniques. The data were analyzed by using percentage, arithmetic mean and standard deviation. Opinions and recommendations received from the samples were taken into account to improve the proposed model of guidance services in elementary schools. Finally the most appropriate and applicable model of guidance services in elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary Education was formed. Results The samples strongly agreed with a proposed model of guidance services in the following items: principles, objectives, starting the guidance programs in schools, health inspection program, information bulletin board program, cumulative record program, students problems solving program, orientation program and the evaluation of the school guidance services. The samples agreed with the meaning of the elementary school guidance services, 13 guidance programs, and budgeting. They also gave additional comments and recommendations which the researcher took them into account in improving and constructing the final appropriate model of guidance services for elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary Education. | |
dc.format.extent | 686203 bytes | - |
dc.format.extent | 794282 bytes | - |
dc.format.extent | 1236825 bytes | - |
dc.format.extent | 648161 bytes | - |
dc.format.extent | 2093287 bytes | - |
dc.format.extent | 2633431 bytes | - |
dc.format.extent | 2621261 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การแนะแนวการศึกษา -- ไทย (ภาคใต้) | |
dc.subject | โรงเรียนประถมศึกษา -- ไทย (ภาคใต้) | |
dc.subject | ชุมพร -- โรงเรียน | |
dc.title | การนำเสนอรูปแบบการจัดบริการแนะแนวในโรงเรียนประถมศึกษา สำนักงานการประถมศึกษา จังหวัดชุมพร | en |
dc.title.alternative | A proposeed model of guidance services in elementary schools under the Office of Chumphon Provincial Primary education | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | ประถมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prapin_Ch_front.pdf | 670.12 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_ch1.pdf | 775.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_ch2.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_ch3.pdf | 632.97 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_ch4.pdf | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_ch5.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Prapin_Ch_back.pdf | 2.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.