Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดารกา แสงสุขใส
dc.contributor.authorอัมพล สูอำพัน
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-06T15:52:35Z
dc.date.available2012-11-06T15:52:35Z
dc.date.issued2544
dc.identifier.isbn9740312292
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23212
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาพฤติกรรมและแบบการอบรมเลี้ยงดูเด็กบกพร่องทางสติปัญญาอายุ 6-11 ปีที่รับบริการแบบผู้ป่วยในของโรงพยาบาลราชานุกูล และ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบางประการกับปัญหาพฤติกรรม กลุ่มตัวอย่าง 120 ราย เป็นผู้ปกครองของเด็ก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสำรวจพฤติกรรมเด็ก (TYC) แบบสอบถามแบบการอบรมเลี้ยงดู และแบบการสัมภาษณ์แบบกึ่งมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยคำนวณค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์โดยการคำนวณค่าไคสแควร์ และค่าเพียร์สัน ผลการวิจัยในทัศนะของผู้ปกครองพบว่า เด็กหญิงมีพฤติกรรมอยู่ในระดับมีปัญหา (ร้อยละ 34.7) มากกว่าเด็กชาย (ร้อยละ28.2) โดยเด็กหญิงมีคะแนนปัญหาพฤติกรรมแบบเก็บกดสูงกว่าเด็กชายในด้านแยกตนเองจากสังคม (ร้อยละ28.6) และมีอาการเจ็บป่วยที่ไม่พบความผิดปกติทางกาย(ร้อยละ24.5) ขณะที่เด็กชายมีคะแนนปัญหาพฤติกรรมแบบแสดงออกสูงกว่าเด็กหญิงในพฤติกรรมเด็กกว่าวัย(ร้อยละ59.2) พบว่าปัญหาการพูดและการขาดสมาธิ สนใจสิ่งใดได้ไม่นานเป็นปัญหาที่ต้องการแก้ไขมากที่สุด การอบรมเลี้ยงดู ผู้ปกครองส่วนใหญ่เลือกใช้แบบการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตย(ร้อยละ60) พบว่าปัจจัยแบบการอบรมเลี้ยงดูมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมทั้งทางบวกและทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยคะแนนการอบรมเลี้ยงดูแบบประชาธิปไตยสัมพันธ์ทางลบกับพฤติกรรมเด็กกว่าวัยในเด็กชายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คะแนนการอบรมเลี้ยงดูแบบปกป้องคุ้มครองสัมพันธ์ทางลบกับอาการวิตกกังวล และอาการเจ็บป่วยที่ไม่พบความผิดปกติทางกายในเด็กหญิงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 ขณะที่ปัจจัยอื่นไม่พบว่ามีความสัมพันธ์กับปัญหาพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
dc.description.abstractalternativeThe purpose of descriptive study was to find the behavioral problem, the child rearing practice and the relationship between related factors and behavioral problems of mentally retarded children aged 6-11 years in the in-patient unit of Rajanukul hospital. The sample consisted of 120 parents. The instruments used in this study were the standard Thai Youth Checklist (TYC), a child practice questionnaire and the semi-structured interview. Data were analyzed by descriptive statistics, chi-square test and pearson product correlation. In parents’ opinion, girls have behavioral problems score(34.7 %) than boys do(28.2%).They also have higher intermalizing scores in social problems (28.6%) and somatic complaints (24.5%) than boys whereas boys have higher externalizing scores in immature problems (59.2%)than girls. Speech and attention problems need to be solved. Democratic child rearing practice was found to be the most common, practiced by 60% of the parents. Types of child rearing practice were significantly related to behavior (p<.01). Democratic child rearing practice scores were negative related to immature problem scores in boys (p<.01) whereas overprotection were negative related to anxiety and somatic complaints problem scores in girls(p<.01).
dc.format.extent2812775 bytes
dc.format.extent3643097 bytes
dc.format.extent11823423 bytes
dc.format.extent2891195 bytes
dc.format.extent7649387 bytes
dc.format.extent10107382 bytes
dc.format.extent9521194 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleปัญหาพฤติกรรมและแบบการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัวเด็กบกพร่องทางสติปัญญาอายุ 6-11 ปีที่มารับบริการแบบผู้ป่วยในของโรงพยาบาลราชานุกูลen
dc.title.alternativeBehavioral problems and child rearing aged 6-11 years in in-patient unit of Rajanukul Hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Daraka_sa_front.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_ch1.pdf3.56 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_ch2.pdf11.55 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_ch3.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_ch4.pdf7.47 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_ch5.pdf9.87 MBAdobe PDFView/Open
Daraka_sa_back.pdf9.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.