Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23246
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อาชัญญา รัตนอุบล | - |
dc.contributor.advisor | เกียรติวรรณ อมาตยกุล | - |
dc.contributor.author | พรรษา เอกพรประสิทธิ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-07T03:43:13Z | - |
dc.date.available | 2012-11-07T03:43:13Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23246 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ(1) เพื่อพัฒนาโปรแกรมทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดของบอยล์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดรายการวิทยุชุมชน และความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับประชาชนผู้จัดรายการวิทยุชุมชน (2) เพื่อทดลองใช้โปรแกรมทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดของบอยล์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดรายการวิทยุชุมชน และความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับประชาชน ผู้จัดรายการวิทยุชุมชน (3) เพื่อศึกษาปัจจัยและเงื่อนไข ที่เกี่ยวข้องของการนำโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดของบอยล์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดรายการวิทยุชุมชนและความรับผิดชอบ ต่อสังคมสำหรับประชาชนผู้จัดรายการวิทยุชุมชน กลุ่มตัวอย่างคือประชาชนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน ด้านวิทยุชุมชน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองจำนวน 30 คน และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) โปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดของบอยล์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดรายการวิทยุชุมชน และความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับประชาชนผู้จัดรายการวิทยุชุมชน ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ ผู้เรียน ผู้สอน เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ ระยะเวลา แหล่งความรู้และสื่อ สภาพแวดล้อม การวัดและการประเมินผล และองค์ประกอบการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม คือ ETHICAL MODEL ประกอบด้วย 1. Experience ประสบการณ์ 2.Transform การปรับเปลี่ยนกรอบความคิด 3.Hypothesis การตั้งสมมติฐาน 4.Idea การคิด 5.Change การเลือกตัดสินใจ 6.Avowal การยืนยันยอมรับ 7. Learning for change การเรียนรู้เพื่อการเปลี่ยนแปลง 2) ผลการทดลองใช้โปรแกรมการเรียนรู้พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนหลังการทดลองสูงกว่าก่อนทดลองและคะแนนหลังการทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .05 3)ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับโปรแกรมทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน ตามแนวคิดของบอยล์ เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการจัดรายการวิทยุชุมชน และความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับประชาชนผู้จัดรายการวิทยุชุมชนคือ ผู้เรียน ผู้สอน เนื้อหาสาระ กิจกรรมการเรียนรู้ และเงื่อนไข ในการนำไปใช้ได้แก่ ผู้เรียน การเป็นแบบอย่างที่ดีของผู้สอน และการเรียงลำดับเนื้อหา | en |
dc.description.abstractalternative | The purposes of the research were to: 1) develop a non – formal education programs based on Boyle‘s approach to enhance the capacity in managing community radio program and social responsibility of people organizing community radio programs; 2) implement the non – formal educational programs based on Boyle‘s approach to enhance the capacity in managing community radio program and social responsibility of people organizing community radio programs; and 3) study factors and conditions related to the use of non – formal educational programs based on Boyle‘s approach to enhance the capacity in managing community radio program and social responsibility of people organizing community radio programs. The samples were 60 community radio organizers. The experimental groups were 30 people and control groups were 30 people. The research findings were as follow: 1.The components of a non-formal education programs based on Boyle‘s approach to enhance the social responsibility of people organizing community radio programs consisted of objectives, learners, instructors, contents, leaning activities, time duration, learning resources and media, environment, and assessment and evaluation. The social responsibility learning model or ETHICAL model consisted of 7 essential components including: Experience, Transformation, Hypothesis, Idea, Choice and decision, Avowal and Learning for change. 2.The experimental results shown the experimental group post-test scores were higher than the pre-test scores. The scores after treatment of the experimental group were also higher than the scores of the control group with statistical significant at level of .50. 3.The factors concerning the non-formal education programs were learners, instructors, content and learning activities. The conditions related to the use of the programs were learners, instructors and contents arrangement. | en |
dc.format.extent | 2627959 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2011.987 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การศึกษานอกระบบโรงเรียน | en |
dc.subject | ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การธุรกิจ | en |
dc.subject | วิทยุกระจายเสียง | en |
dc.subject | วิทยุเพื่อการพัฒนาชนบท | en |
dc.subject | วิทยุ--การจัดรายการ | en |
dc.title | การพัฒนาโปรแกรมการศึกษานอกระบบโรงเรียนตามแนวคิดของบอยล์ เพื่อเสริมสร้างความรับผิดชอบต่อสังคมสำหรับประชาชนผู้จัดรายการวิทยุชุมชน | en |
dc.title.alternative | Development of a non-formal education program based on Boyle's approach to enhance the social responsibility of people organizing community radio programs | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | es |
dc.degree.discipline | การศึกษานอกระบบโรงเรียน | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | Archanya.R@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Kiatiwan.A@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2011.987 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
punsa_ek.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.