Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23269
Title: การบังคับชำระหนี้จากสิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ ที่เป็นหลักประกันของธนาคาร
Other Titles: Demand of debt payment against the right in the hire of immovable property as collateral to a bank
Authors: วงศ์เกษม การถนัด
Advisors: วิชัย ตันติกุลานันท์
ธัชชัย ศุภผลศิริ
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2532
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: ในปัจจุบัน สิทธิการเช่าอสังหาริมทรัพย์ เป็นทรัพย์สินชนิดหนึ่ง ที่นำเป็นหลักประกันกันแพร่หลายขึ้น ธนาคารเห็นว่าเป็นหลักประกันที่ให้มีความแข็งแรงเพียงพอ แต่ยังรับไว้เป็นหลักประกันเช่นกัน สัญญาที่ใช้บังคับกับคู่กรณีทั้งสามฝ่าย (ผู้ให้เช่า ผู้เช่า ธนาคาร) คือ สัญญานำสิทธิการเช่าในอสังหาริมทรัพย์เป็นประกันหนี้ เมื่อธนาคารบังคับชำระหนี้เอากันสิทธิการเช่า ธนาคารต้องจัดให้มีการทำสัญญาใหม่กับผู้ให้เช่าทุกครั้ง เพราะสัญญาฉบับนี้มักระบุข้อความบังคับระหว่างธนาคารกับผู้เช่าเท่านั้น มิได้มีข้อความใดที่สามารถบังคับผู้ให้เช่าให้โอนสิทธิการเช่าให้ธนาคารหรือผู้ที่ธนาคารจัดหาให้รับโอนได้ทันที ซึ่งผู้ให้เช่าอาจไม่ยินยอมทำสัญญาใหม่ก็ได้ และผู้เขียนเห็นว่า ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ มาตรา 544 ไม่สามารถบังคับผู้ให้เช่าได้เช่นกัน เพื่อทำให้สัญญานำสิทธิการเช่าในอสังหาริมทรัพย์เป็นประกันหนี้ มีผลบังคับผู้ให้เช่าได้ ประเด็นที่สำคัญคือต้องระบุข้อความ “ให้ถือว่าการโอนสิทธิการเช่า เป็นการโอนไปทั้งสิทธิและหน้าที่ของผู้เช่าที่ผู้เช่ามีต่อผู้ให้เช่านับแต่วันโอนสิทธิการเช่า” การระบุเช่นนี้สามารถบังคับให้ผู้ให้เช่าโอนสิทธิการเช่าได้ทันที ถ้าผู้ให้เช่าไม่ยินยอมโอนสิทธิการเช่า ธนาคารสามารถฟ้องร้องบังคับผู้ให้เช่าให้ปฏิบัติตามสัญญา หรือใช้คำพิพากษา สัญญาสามฝ่ายโดยมีข้อตกลงเช่นนี้ น่าจะเป็นวิธีการแก้ไขข้อขัดข้องของธนาคารทางหนึ่งในการรับสิทธิการเช่าเป็นหลักประกัน
Other Abstract: At present, The right in the Hire of Immovable property being inereasingly used as a collateral But the Bank realized that this right is not strong enough to be a collateral in Banking Business. The Contract to force three parties (the lessor, the Bank, the lessee) is the contract on using the Right in the Hire of Immovable Property as collateral a gainst a debt currently. The author is of a view that the Civil and Commercial Code, Section 544 can’t force the lessor to transfer this Right to the Bank when the Bank institutes the forcing of debt payment. To make the contract on using this right to force the lessor the most proposed point is that to add a clause “to transfer the Right shall be regarded as transferring the lessee’s right and duty that he has to the lessor right from the date of transferring this Right”. A three-party contract which has conclusion like this is one of a method to solve Bank’s problem approving the Right in the Hire of Immovable Property as a Bank’s collateral.
Description: วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532
Degree Name: นิติศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: นิติศาสตร์
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23269
ISBN: 9745777048
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wongkasem_ka_front.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_ch1.pdf13.54 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_ch2.pdf10.91 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_ch3.pdf14.23 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_ch4.pdf6.98 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_ch5.pdf7.39 MBAdobe PDFView/Open
Wongkasem_ka_back.pdf15.24 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.