Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23381
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพรรณ พนัสพัฒนา-
dc.contributor.authorพรพักตร์ สถิตเวโรจน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2012-11-08T04:35:10Z-
dc.date.available2012-11-08T04:35:10Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741768389-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23381-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractปัจจุบันประเทศไทยไดริเริ่มการให้บริการเกี่ยวกับเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือขึ้นเมื่อ ต้นปี 2547 ที่ผ่านมา เพื่อสร้างความเชื่อมั่นและความน่าเชื่อถือในการทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ อันเป็นวิธีการกำกับดูแลตนเองของผู้ประกอบธุรกิจรูปแบบหนึ่งนอกเหนือไปจากวิธีการตรากฎหมาย แต่ด้วยเหตุที่หน้าที่สำคัญของผู้ให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือ คือ การกำหนดหลักเกณฑ์ การออกเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือและข้อบังคับเกี่ยวกับการประกอบการพาณิชย์ อิเล็กทรอนิกส์ที่ได้มาตรฐานสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ทางกฎหมายทั้งในประเทศและต่างประเทศ จึงมี ความจำเป็นต้องศึกษาถึงแนวทางกฎหมายต่างๆ ที่เกี่ยวข้องให้รอบด้าน จากการศึกษากฎหมายไทยที่เกี่ยวข้องเปรียบเทียบกับหลักเกณฑ์ทางกฎหมายของ ต่างประเทศ พบว่ากฎหมายไทยที่ใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันยังไม่ครอบคลุมเพียงพอที่จะนำมาใช้เป็นแนวทางในการกำหนดหลักเกณฑ์การให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือได้ อีกทั้งผู้ให้บริการ เครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถืออาจต้องประสบปัญหาในเรื่องความชัดเจนของข้อกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการคุ้มครองสิทธิในเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือของผู้ให้บริการ การติดตาม ตรวจสอบและการกำหนดมาตรการบังคับผู้ได้รับเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือ ตลอดจนความ รับผิดของผู้ให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือ ดังนั้น หากประเทศไทยมีการตรากฎหมาย เกี่ยวกับการให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือโดยเฉพาะแล้ว จะช่วยสร้างความชัดเจนใน การให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือ รวมทั้งช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ อันเกิดจากการประกอบ ธุรกิจพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ได้อีกด้วย-
dc.description.abstractalternativeThailand is initiating a program to provide services relating to Trustmarks, to promote trust and confidence in electronic commerce, which is a method of self-regulation for business operators apart from enacting a law since 2004. An important duty of a Trustmark Service Provider is to stipulate regulations of issuing a Trustmark and a code of conduct in electronic commerce with the same standard as regulations of both internal and foreign laws. It is necessary to study every aspect of related laws. From studying the related Thai laws comparing with foreign laws, it is found that the enforcing Thai laws are not applying for the standard practice of the Trustmark Service Provider adequately. Additionally, the Trustmark Service Providers will also face with the problem of laws, which is still unclear, especially protecting of the rights of the Trustmark Service Provider, monitoring and enforcing the Trustmark Holder, and liability of the Trustmark Service Provider. Therefore, if Thailand enacts a specific law for a Trustmark service; it can solve any problems of compliance with the Trustmark Service including problems related to electronic commerce.-
dc.format.extent2585983 bytes-
dc.format.extent3044024 bytes-
dc.format.extent21002271 bytes-
dc.format.extent13535328 bytes-
dc.format.extent23809663 bytes-
dc.format.extent6391319 bytes-
dc.format.extent2342330 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย-
dc.subjectผู้ให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือ-
dc.subjectElectronic commerce -- Law and legislation -- Thailand-
dc.subjectTrustmark service provider-
dc.titleหลักกฎหมายเกี่ยวกับผู้ให้บริการเครื่องหมายแสดงความน่าเชื่อถือในพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์en
dc.title.alternativeLegal principles relating to trustmark service provider in electronic commerceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pornpak_sa_front.pdf2.53 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_ch1.pdf2.97 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_ch2.pdf20.51 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_ch3.pdf13.22 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_ch4.pdf23.25 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_ch5.pdf6.24 MBAdobe PDFView/Open
Pornpak_sa_back.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.