Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23442
Title: การศึกษาเปรียบเทียบผลของโพรไบโอติกจากแบคทีเรียกับสารกระตุ้นภูมิคุ้มกันเชิงพาณิชย์ต่อระบบภูมิคุ้มกันในกุ้งกุลาดำ
Other Titles: Comparative study of bacterial probiotic and commercial immunostimulant on black tiger shrimp immune system
Authors: พิศมัย โพธิ์เวชกุล
Advisors: ศิริรัตน์ เร่งพิพัฒน์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์
Subjects: กุ้งกุลาดำ -- การเลี้ยง -- สูตรผสม
กุ้งกุลาดำ -- วิทยาภูมิคุ้มกัน
สารกระตุ้นภูมิคุ้มกัน
Black tiger shrimp -- Feeding and feeds -- Recipes
Black tiger shrimp -- Immunology
Immunological adjuvants
Issue Date: 2547
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: เปรียบเทียบสูตรอาหารต่อระบบภูมิคุ้มกันในกุ้งกุลาดำจากการทดลองครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 ซึ่ง แบ่งกลุ่มทดลองออกเป็น 5 กลุ่มการทดลอง โดยกลุ่มที่ 1 ให้อาหารกุ้งปกติ (ควบคุม) กลุ่มที่ 2 อาหารกุ้งผสมบีตากลูแคน (BG) 2 กรัม/กิโลกรัม กลุ่มที่ 3 อาหารกุ้งผสมเซลล์ที่ใม่มีชีวิตของโพร ไบโอติกแบคทีเรีย (F-BS11-1) อัตราส่วน 2 ต่อ 1 (นำหนักแห้งต่อนำหนักเปียก) กลุ่มที่ 4 อาหาร กุ้งผสมเซลล์ที่ไม่มีชีวิตของโพรไบโอติกแบคทีเรีย (F-BS11-2) อัตราส่วน 3 ต่อ! (นาหนักแห้งต่อ นำหนักเปียก) กลุ่มที่ 5 อาหารกุ้งผสมเซลล์ที่ไม่มีชีวิตของโพรไบโอติกแบคทีเรีย (F-BS11-3) อัตราส่วน 6 ต่อ!(นาหนักแห้งต่อนํ่าหนักเปียก) พบว่ากุ้งกลุ่ม F-BS11 มีนิ้าหนัก และความยาวสูง ที่สุด หลังจากเลี้ยงกุ้ง 90 วัน และการรอดชีวิตไม่แตกต่างกันในระหว่าง 5 กลุ่มการทดลอง ปริมาณ เม็ดเลือดรวมของกุ้งทุกกลุ่มการทดลองมีปริมาณ ~10’เซลล์/มล. และหลังการชักนำให้เกิดโรค ด้วย Vibrio harveyi 639 ปริมาณเม็ดเลือดรวมของกุ้งลดลงเหลือ ~105เซลล์/มล. และกุ้งกลุ่ม ควบคุมมีการตายสะสมสูงที่สุด ในการทดลองครั้งที่ 3 เลือกกลุ่มทดลองF-BS11-2 เปรียบเทียบกับ กลุ่มควบคุม กลุ่ม BG และกลุ่ม BS1 นอาหารผสมโพรไบโอติกแบคทีเรีย BS11) หลังการเพาะเลี้ยง เป็นระยะเวลา 90 วัน พบว่ากุ้งกลุ่ม BS11 มีการเจริญเติบโต การรอดชีวิตสูงที่สุด ปริมาณเม็ดเลือด รวม และเปอร์เซ็นต์การยับยั้งแบคทีเรียโดยสารที่มีฤทธึ่ตานแบคทีเรียในเลือดกุ้งสูงที่สุดและหลัง การชักนำให้เกิดโรคด้วย Vibrio harveyi 639 ที่ความเข้มข้น ~107 CFU/ml ปริมาณเม็ดเลือดรวม ของกุ้งในทุกกลุ่มทดลองลดลงเหลือ ~105-106 เชลล์/มล. เปอร์เซ็นต์การยับยังแบคทีเรียในทุกกลุ่ม ทดลองมีเปอร์เซ็นต์สูงขึน แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ และกุ้งกลุ่มBS11 มีการตายสะสมตํ่าที่สุด การศึกษาพยาธิสภาพต่อการเกิดโรคพบมีการติดเชื้อทั้งบริเวณตับ อวัยวะสร้างเม็ดเลือด และหัวใจ ของกุ้งทุกกลุ่มการทดลอง และไม่พบสารปฏิชีวนะตกค้างในเนื้อกุ้งทุกกลุ่มทดลอง
Other Abstract: Comparative study of five different diets on black tiger shrimp immune system: Control (regular shrimp feed); BG (regular shrimp feed with 2 g/kg P'glucan); F-BS11-1 (regular shrimp feed: formalin-fixed probiotic bacterium BS11; 2:1 dry weight/wet weight (dw/ww); F-BS11-2 (regular shrimp feed: formalin-fixed probiotic bacterium BS11; 3:1 dw/ww); and F-BS 11-3 (regular shrimp feed: formalin-fixed probiotic bacterium BS11; 6: 1 dw/ww) were tested. Results from two experiments indicated that average shrimp weights and lengths, after 90 day-culture fed F-BS11, were higher than those of the other groups. Survival was not different among all treatments. Means of total hemocyte count of all shrimps after 90 days were ~107 cell ml1 . After challenge test by Vibrio harveyi 639 for 5 days, mean of total hemocyte count from all shrimps decreased to ~ 10s cell mlMoreover, cumulative mortality of control shrimps were the most pronounced among all treatments. In experiment III, four different diets: Control (regular shrimp feed); BG (regular shrimp feed with 2 g/kg P'glucan); BS11 (regular shrimp feed: Bacillus SI 1; 3: 1 dw/ww); and F-BS11-2, were tested on shrimps. Interestingly, growth and survival including total hemocyte count and antibacterial activity of shrimps feed BS11 after 90 day-culture were higher than those of the other groups. Decrease in total hemocyte count from ~10? cell ml1 to ~105 - 106 cell ml', after challenging by V. harveyi, among shimps in four treatments was detected. However, antibacterial activities increase were not significantly detected. Cumulative mortality of BS11 shrimps was the least among all treatments after 7 days of challenge test. Pathogenesis using immunohistochemistry technique was detected on hepatopancreas, hematopoietic tissue and heart of infected shrimps. No antibiotics in shrimp tissues from all treatments was detected by CM-test.
Description: วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Degree Name: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: เทคโนโลยีชีวภาพ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23442
ISBN: 9745310948
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pissamai_po_front.pdf4.23 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch1.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch2.pdf9.82 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch3.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch4.pdf6.69 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch5.pdf2.51 MBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_ch6.pdf711.72 kBAdobe PDFView/Open
Pissamai_po_back.pdf15.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.