Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23471
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จันทร์เพ็ญ เชื้อพานิช | - |
dc.contributor.author | มณีภรณ์ ทฤษณาวดี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-08T17:37:24Z | - |
dc.date.available | 2012-11-08T17:37:24Z | - |
dc.date.issued | 2526 | - |
dc.identifier.isbn | 9745630519 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23471 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง โดยมีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 2 ประการคือ 1. เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง ระหว่างห้องที่ใช้เทคนิคการแข่งขันแบบต่างๆ กัน 3 ห้องในการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์โดยที่ ห้องที่หนึ่ง ใช้เทคนิคการแข่งขันระหว่างส่วนบุคคล ห้องที่สอง ใช้เทคนิคระหว่างการแข่งขันระหว่างกลุ่ม ห้องที่สาม เป็นการเรียนตามปกติไม่มีการแข่งขันใดๆ 2. เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่ใช้เทคนิคการแข่งขัน ตัวอย่างประชากร คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปทุมวัน จำนวน 3 ห้องๆ ละ 45 คน นักเรียนทั้งสามห้องมีคะแนนผลสัมฤทธิ์วิชาวิทยาศาสตร์บทที่ 1 เรื่องเราเริ่มต้นเรียนวิทยาศาสตร์กันอย่างไร ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 การกำหนดวิธีการแข่งขันในแต่ละห้องนั้นใช้วิธีจับสลากแล้วผู้วิจัยดำเนินการสอนวิทยาศาสตร์บทที่ 2 เรื่อง น้ำ และบทที่ 3 เรื่อง บรรยากาศรอบตัวเรา เป็นเวลา 12 สัปดาห์ๆ ละ 4 คาบ กับตัวอย่างประชากรทั้ง 3 ห้อง ตัวอย่างประชากรได้รับการทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเมื่อเรียบจบแต่ละบท เมื่อการทดลองสิ้นสุดลง ผู้วิจัยให้นักเรียนห้องที่หนึ่งและห้องที่สองตอบแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อกิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่ใช้เทคนิคการแข่งขัน การวิเคราะห์ข้อมูลวิเคราะห์โดยหาค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และความแปรปรวน (ANOVA) ข้อค้นพบ 1. ผลสัมฤทธิ์ทางกาเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของกลุ่มตัวอย่างประชากรทั้งสามห้องที่เรียนโดยใช้เทคนิคการแข่งขันแบบต่างๆ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 2. กลุ่มตัวอย่างประชากรห้องที่หนึ่งมีความคิดเห็นสนับสนุนการจัดกิจกรรมการแข่งขันระหว่างบุคคลอยู่ในระดับปานกลาง 3. กลุ่มตัวอย่างประชากรห้องที่สองมีความคิดเห็นสนับสนุนการจัดกิจกรรมแข่งขันระหว่างกลุ่มอยู่ในระดับปานกลาง 4. ข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างประชากรห้องที่หนึ่งมีความคิดเห็นสนับสนุนในระดับมากคือ ทำให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน มีโอกาสหาคำตอบด้วยตนเอง กระตุ้นให้ค้นคว้าและอ่านหนังสือเพิ่มขึ้น รู้สึกไม่อิสระทำให้ขยันขันแข็ง และ ช่วยกระตุ้นให้พยามยามใช้ความคิดขณะเรียน 5. ข้อคำถามที่กลุ่มตัวอย่างประชากรห้องที่สองมีความคิดเห็นสนับสนุนในระดับมากคือ ทำให้เกิดความกระตือรือร้นในการเรียน มีโอกาสหาคำตอบด้วยตัวเอง กระตุ้นให้ค้นคว้าและหาหนังสือเพิ่มเติม พอใจสถานการณ์เรียนแบบนี้ ทำให้ขยันขันแข็ง ช่วยกระตุ้นให้พยายามใช้ความคิดขณะเรียน และอยากเรียนด้วยเทคนิคการแข่งขันแบบนี้อีก | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this experimental research were twofolds: 1. To compare the science learning achievement of Mathayom Suksa One students among three classes using different competitive techniques in learning science: Class one : Competition among individual students technique. Class two : Competition among groups of students technique. Class three : No competition of any kinds. 2. To study the students' opinions concerning science learning activities using different competitive techniques. The samples of this research were three classes of Mathayom Suksa One students of Satit School of Srinakharinwirot University, Patumwan. There were 45 students in each class. The sample selection criterion was that, there were no significant different in science achievement of the first chapter "How to learn science" among the three classes at the .05 level. The matching of competitive technique with class was done by lottery technique. All classes were taught by the researcher for twelve weeks, four periods per week on the second chapter Water and third chapter Atmosphere. The achievement test was administered to the samples at the end of each chapter. After the treatments the questionnaires which surveyed the opinions of the students concerning science learning activities using competitive technique were administered to the class one and class two students. The obtained data were analyzed by means of arithmetic mean, standard deviation and analysis of variance (ANOVA). The research finding : 1. There were no significant difference in science learning achievement of students among the three classes using different competitive techniques at the .05 level. 2. The opinions of the class one samples were that they agreed with the competition among individual technique at the medium level. 3. The opinions of the class two samples were that they agreed with the competition among groups technique at the medium level. 4. The questions which the class one, sample agreed at the high level were that the competitive technique made them eager for learning, have a chance of finding the answer by themselves, do more research and reading, feel dependent, diligence and try to think during learning. 5. The questions which the class two, samples agreed at the high level were that the competitive technique made them eager for learning, have a chance of finding the answer by themselves, do more research and reading, satisfy this learning situation, diligence, try to think during learning and willing to learn more by this competitive technique. | - |
dc.format.extent | 630247 bytes | - |
dc.format.extent | 368299 bytes | - |
dc.format.extent | 1017322 bytes | - |
dc.format.extent | 481517 bytes | - |
dc.format.extent | 547597 bytes | - |
dc.format.extent | 533284 bytes | - |
dc.format.extent | 5209480 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน | - |
dc.subject | วิทยาศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) | - |
dc.subject | การแข่งขัน (จิตวิทยา) | - |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา | - |
dc.subject | Academic achievement | - |
dc.subject | Science -- Study and teaching (Secondary) | - |
dc.subject | Competition (Psychology) | - |
dc.subject | High school students | - |
dc.title | การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ที่ใช้เทคนิคการแข่งขันแบบต่างๆ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่หนึ่ง | en |
dc.title.alternative | A comparison of mathayom suksa one students' science learning achievement using different competitive techniques | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | มัธยมศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Maneeporn_Tr_front.pdf | 615.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_ch1.pdf | 359.67 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_ch2.pdf | 993.48 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_ch3.pdf | 470.23 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_ch4.pdf | 534.76 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_ch5.pdf | 520.79 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Maneeporn_Tr_back.pdf | 5.09 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.