Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23491
Title: | ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับชาติพันธุ์ในจังหวัดลำพูน |
Other Titles: | The relationship between language and ethnicity in Lamphun province |
Authors: | เพ็ญจันทร์ พันธ์ฤกษ์ |
Advisors: | กฤษดาวรรณ หงศ์ลดารมภ์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Subjects: | ภาษาไทย -- ภาษาถิ่น ภาษาไทย -- ไทย -- ลำพูน เอกลักษณ์ชาติพันธุ์ -- ไทย -- ลำพูน ชาติพันธุ์วิทยา -- ไทย -- ลำพูน Thai language -- Dialects Thai language -- Thailand -- Lamphun Ethnicity -- Thailand -- Lamphun Ethnology -- Thailand -- Lamphun |
Issue Date: | 2547 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจำนวนภาษาและภาษาย่อย ชื่อภาษาและกลุ่ม ชาติพันธุ์ที่เรียกโดยกลุ่มเดียวกันและกลุ่มอื่น ลำดับชั้นของภาษาและภาษาย่อยตลอดจนความ ลำนึกทางชาติพันธุ์ในจังหวัดลำพูน ข้อมูลที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เก็บจากกลุ่มตัวอย่างซึ่งอยู่ในจังหวัดลำพูนและมีอายุ 45 ปี ขึ้นไป จำนวน 80 คน แบ่งออกเป็นกลุ่มๆ ละ 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบลอบ ถามจำนวน 4 ตอน ผลการวิจัยสรุปเนื้อหาได้ดังนี้ จำนวนภาษาและภาษาย่อยในจังหวัดลำพูนมี 8 ภาษา ชื่อภาษาและชื่อกลุ่มชาติพันธุที่เรียกโดยกลุ่มเดียวกันมีนัยของความรู้สึกเซิงบวกและชื่อภาษาและ กลุ่มชาติพันธุ์ที่เรียกโดยกลุ่มอื่นมีนัยของความรู้สึกเชิงลบ ส่วนลำดับชั้นของการใช้ภาษาโดยเรียง ลำดับตามการใช้จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ ภาษาไทยเชียงใหม่ ภาษาไทยกลาง ภาษาไทย ลำพูน ภาษายอง ภาษาลื้อ ภาษาปะกากะญอ ภาษาโพร่งและภาษามอญ ผลการวิเคราะห์ ความลำนึกทางชาติพันธุ์ของแต่ละกลุ่มในจังหวัดลำพูนพบว่า กลุ่มไทยเชียงใหม่มีสำนึกมากกว่า กลุ่มอื่น |
Other Abstract: | The aim of this study is to investigate the use of languages and dialects in Lamphun Province. It also seeks to examine the names of the languages and dialect? used by native speakers and other people. addition, it analyzes linguistic hierarchy and the speakers' awareness of ethnic identity. Data were collected by using four parts of questionaires. They were answered by eighty informants living in Lamphun, aged from 45 to 80 years.They were divided into eight groups(10 people each). It is found that there are eight languages and dialects in Lamphun. The names of languages and dialects used by native speakers are positive meanings but those used by other ethnic groups are negative meanings. These languages and dialects stand in a hierarchy based on frequency of use as follows: Chiang Mai Thai, Lamphun Thai, Yong, Lue, Pakakayo, Phrong and Mon. It is also found that the Chiang Mai Thai group has a degree of awareness of ethnic identity higher than other groups, as can be seen from their participation in various group activities. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ภาษาศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23491 |
ISBN: | 9741771037 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Penchan_pa_front.pdf | 2.79 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch1.pdf | 1.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch2.pdf | 6.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch3.pdf | 3.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch4.pdf | 8.11 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch5.pdf | 5.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch6.pdf | 6.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_ch7.pdf | 2.01 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Penchan_pa_back.pdf | 3.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.