Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23520
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรกัลยา วัฒนสินธุ์
dc.contributor.advisorสว่าง กิตติญาณปัญญา
dc.contributor.authorวนิดา หาญบุญเศรฐ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-09T03:57:15Z
dc.date.available2012-11-09T03:57:15Z
dc.date.issued2533
dc.identifier.isbn9745783501
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23520
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533en
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้เป็นการศึกษาถึงต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกส้มตราในจังหวัดราชบุรี สำหรับปีเพาะปลูก 2530/2531 โดยเลือกสวนส้มตราเพื่อเป็นตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 60 ตัวอย่าง จากจำนวนสวนส้มตราทั้งหมด 157 สวน และแบ่งเนื้อที่เพาะปลูกในการศึกษาเป็น 3 ขนาด คือ เนื้อที่เพาะปลูก 5-12 ไร่ เนื้อที่เพาะปลูก 13-30 ไร่ และเนื้อที่เพาะปลูกมากกว่า 30 ไร่ และทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยนำรายได้ของพื้นที่เพาะปลูกจำนวนน้อยที่สุดของสวนแต่ละขนาดมาเป็นตัวแทนในการคำนวณหาผลตอบแทนจากการลงทุน ผลการศึกษาพบว่า การทำสวนส้มตรานั้นเกษตรกรจะเริ่มมีรายได้จากการขายผลผลิตตั้งแต่สิ้นปีที่ 4 ถึงปีที่ 10 สวนส้มตราทั้ง 3 ขนาดมีระยะเวลาคืนทุนประมาณ 6 ปีเศษ จากการวิเคราะห์โครงการโดยวิธีมูลค่าปัจจุบันสุทธิพบว่าแม้ต้นทุนของเงินทุนจะสูงถึง 18% ก็ตามเกษตรกรก็ยังได้รับผลตอบแทนสูงกว่าต้นทุนของเงินทุน และการทำสวนส้มตราจะมีอัตราผลตอบแทนที่แท้จริงตามขนาดที่แบ่งไว้เท่ากับ 18.81% 22.70% และ 23.04%ตามลำดับ สรุปได้ว่าการลงทุนทำสวนส้มตราในปัจจุบันเกษตรกรได้รับผลตอบแทนคุ้มกับการลงทุน ไม่ว่าเกษตรกรจะใช้เงินทุนของตนเองหรือกู้เงินจากธนาคาร ปัญหาสำคัญในการทำสวนส้มตรา คือเกษตรกรขาดความรู้เกี่ยวกับการปลูกส้มตราที่ถูกวิธี ปัญหาทางด้านเงินทุนหมุนเวียนไม่เพียงพอ เพราะเกษตรกรต้องรอผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกส้มตราเป็นระยะเวลา 3 ปีโดยประมาณ นอกจากนี้ยังมีปัญหาทางด้านราคาขึ้นลงตามฤดูกาลแล้วยังถูกกำหนดราคาโดยพ่อค้าคนกลาง และปัญหาทางด้านการตลาดคือขาดการส่งเสริมการส่งออก ข้อเสนอแนะ หน่วยราชการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมการเกษตรควรจัดให้มีการให้ความรู้เกี่ยวกับการปลูกสวนส้มตรา การบำรุงรักษา การป้องกันศัตรูพืช ที่ถูกวิธี เพื่อเพิ่มคุณภาพและผลผลิตให้ดียิ่งขึ้น ทางด้านเงินทุน รัฐบาลควรสนับสนุนให้เกษตรกรกู้เงินเพื่อนำไปลงทุนได้มากขึ้น เกษตรกรควรรวมกลุ่มกันให้มากกว่านี้เพื่อสร้างอำนาจการต่อรองกับพ่อค้าคนกลาง และรัฐบาลควรส่งเสริมให้มีการส่งออกมากขึ้นและในขณะเดียวกันควรขยายตลาดส้มตราในต่างประเทศเพื่อรองรับการส่งออกของส้มตรา
dc.description.abstractalternativeThis thesis has as its aim a study of the cost and the return on investment of acidless sweet orange plantation in 1987/1988. 60 plantations from the total of 157 in Ratchaburi Province were selects as samples. They were divided by areas into three sizes : 5-12 rai, 13-30 rai, and more than 30 rai. Depending on a conservative basis, the revenue earned from the smallest plantation of each size was used in the calculation of the return on investment. The study revealed that farmers would gain sales revenue from the end of the fourth year through the tenth year. No matter what size it was, the pay back period was about 6 years. While the net present value method was used, the analysis showed that the return on investment from the above mentioned plantation sizes was higher than the cost of capital, 18% and the internal rate of return were 18.81% 22.70% and 23.05% respectively. It was found that farmers certainly made profits from acidless sweet orange plantation whether they used their own fund or borrowed from banks. Problems facing the plantations are lack of knowledge of planting, need of a lot of working capital invested during the first 3 years as well as unfair selling price and marketing limitations. Suggestions are that the Government agencies concerned agricultural extension should provide more loans, more markets and also conduct some short-course training on the production, such as cultural practices. On the other hand, farmers should put more interest on forming a cooperative group in order to get more bargaining power concerning selling price. The Government should also promote the export of acidless sweet orange.
dc.format.extent4035649 bytes
dc.format.extent2077069 bytes
dc.format.extent7197022 bytes
dc.format.extent14171754 bytes
dc.format.extent6724807 bytes
dc.format.extent2351555 bytes
dc.format.extent9728451 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกส้มตราเชิงการค้าในจังหวัดราชบุรีen
dc.title.alternativeCost and return on investment of acidless sweet orange production for commercial purpose in Ratchaburi provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบัญชีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanida_ha_front.pdf3.94 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_ch1.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_ch2.pdf7.03 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_ch3.pdf13.84 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_ch4.pdf6.57 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_ch5.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open
Wanida_ha_back.pdf9.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.