Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23529
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วิชุดา รัตนเพียร | - |
dc.contributor.author | ภูริช ผ่องแผ้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2012-11-09T04:15:47Z | - |
dc.date.available | 2012-11-09T04:15:47Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9745323055 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23529 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับการประเมิน โปรแกรมการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ 2) ประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางการ ประเมินโปรแกรมการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา 3) นำเสนอแนวทางการประเมิน โปรแกรมการเรียนอิเล็กทรอนิกส์สำหรับสถาบันอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ รวมทั้งหมดจำนวน 17 คนการศึกษาครั้งนี้ ใช้เทคนิค วิจัยแบบเดลฟาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1)แบบสอบถามแบบปลายเปิด 2) แบบสอบถามแบบปลายปิดประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์และเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้ค่าสถิติมัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมาเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลวิจัยพบว่า แนวทางการประเมินโปรแกรมการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา ดังนี้ 1. ด้านสภาวะแวดล้อม ครอบคลุมแนวทางการประเมินนโยบายด้านการเรียน อิเล็กทรอนิกส์ ความคาดหวังและความต้องการของผู้เรียน ความพร้อมของสถาบัน และเทคโนโลยีการสื่อสาร 2. ด้านปัจจัยเบื้องต้น ครอบคลุมแนวทางการประเมิน ด้านบุคลากร โครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและทรัพยากรการศึกษา และปัจจัยสนับสนุน 3. ด้านกระบวนการ ครอบคลุมแนวทางการประเมินการบริหารจัดการ กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียน การเข้าถึงการเรียน และการบริการการเรียน 4. ด้านผลผลิต ครอบคลุมแนวทางการประเมิน ด้านผลิตเชิงปริมาณ และคุณภาพ | - |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this research were to: 1) study the opinions of panel experts concerning e- learning evaluation guidelines: 2) evaluate the appropriateness and possibilities of e-learning evaluation guidelines for higher education: and 3) proposed the e-learning evaluation guidelines for higher education. The samples were 17 experts in e-learning. The data were collected by means of questionnaires. The data were analyzed by median, inter quartile range, mean, and standard deviation. The findings reveled that evaluation guidelines for e-learning program for higher education institutions comprised of 4 categories as follows: 1. Context. It was found that evaluation guidelines for e-learning in this category included guidelines for e-learning policy, expectations of learners, and institutions readiness. 2. Input. It was found that evaluation guidelines for e-learning in this category included human resources, basic information technology infrastructure, and other supporting factors. 3. Process. It was found that evaluation guidelines for e-learning in this category included management, learning activities management process, accessibility of e-learning program, and other learning services. 5. Product. It was found that evaluation guidelines for e-learning in this category included evaluation guidelines for both quality and quantity of learning. | - |
dc.format.extent | 2569431 bytes | - |
dc.format.extent | 4301179 bytes | - |
dc.format.extent | 10311110 bytes | - |
dc.format.extent | 2367247 bytes | - |
dc.format.extent | 5112248 bytes | - |
dc.format.extent | 3404816 bytes | - |
dc.format.extent | 11118852 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2004.400 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน -- การประเมิน | - |
dc.subject | การประเมินหลักสูตร | - |
dc.subject | การศึกษา -- การประเมิน | - |
dc.subject | การศึกษาขั้นอุดมศึกษา -- การประเมิน | - |
dc.subject | Computer-assisted instruction -- Evaluation | - |
dc.subject | Curriculum evaluation | - |
dc.subject | Education -- Evaluation | - |
dc.subject | Education, Higher -- Evaluation | - |
dc.title | การนำเสนอแนวทางการประเมินโปรแกรมการเรียนอิเล็กทรอนิกส์ สำหรับสถาบันอุดมศึกษา | en |
dc.title.alternative | A proposed evaluation guidelines for e-learning program for higher education institutions | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | ครุศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | โสตทัศนศึกษา | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2004.400 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Bhoorich_ph_front.pdf | 2.51 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_ch1.pdf | 4.2 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_ch2.pdf | 10.07 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_ch3.pdf | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_ch4.pdf | 4.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_ch5.pdf | 3.33 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Bhoorich_ph_back.pdf | 10.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.