Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23570
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพี จรัสจรุงเกียรติ-
dc.contributor.authorมัญชุสา อังคะนาวิน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-09T07:39:30Z-
dc.date.available2012-11-09T07:39:30Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741761295-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23570-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องปริจเฉทสารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท. นี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสารคดีท่องเที่ยวซึ่ง กล่าวได้ว่าเป็นปริจเฉทเรื่องเล่าประเภทหนึ่ง ตามแนวคิดของ ลองเอเคอร์ คือ มีการเล่าเรื่องไปตามลำดับเวลา และมีการอ้างถึงตัวผู้กระทำ ซึ่งในที่นี้หมายถึงตัวผู้เขียน การศึกษาครั้งนี้ มุ่งที่จะศึกษาสารคดีท่องเที่ยวใน 2 ประเด็น คือ 1) องค์ประกอบและกลวิธีการเล่าเรื่องในสารคดีท่องเที่ยว และ 2) การเชื่อมโยงความในปริจเฉทสาร คดีท่องเที่ยว ผลการศึกษาสรุปได้ดังนี้ สารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท. แสดงความสัมพันธ์กัน ด้วยองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ คือ บทนำ เนื้อเรื่อง บทสรุป และบทส่งท้าย สามารถแยกแต่ละองค์ประกอบออกจากกันได้โดยตัดสินการแสดงลำดับเวลาและ รูปภาษาที่ใช้ มีกลวิธีการเล่าเรื่องด้วยการใช้คำบอกเวลาเป็นแกนในการดำเนินเรื่องตั้งแต่ต้นจนจบ โดยมีผู้เขียนเป็นผู้ เล่าเรื่องราวการท่องเที่ยว ผ่านมุมมองของตนเอง สังเกตได้จากการใช้คำสรรพนามแทนตนเอง ซึ่งปรากฏใช้ตลอดทั้งเรื่อง การศึกษาลักษณะการเชื่อมโยงความ 3 ประเภทได้แก่การเชื่อมโยงความด้วยการอ้างถึง การเชื่อมโยง ความด้วยการใช้คำเชื่อม และการเชื่อมโยงความด้วยการคำศัพท์ จากการศึกษาพบการเชื่อมโยงความด้วยการอ้าง ถึง 2 ลักษณะได้แก่ การอ้างถึงด้วยการใช้คำสรรพนาม และการอ้างถึงด้วยการชี้เฉพาะ การเชื่อมโยงความด้วย การใช้คำเชื่อม พบการใช้คำเชื่อม 8 ประเภท ได้แก่ คำเชื่อมแสดงลำดับเวลา คำเชื่อมแสดงความสัมพันธ์แบบเพิ่มข้อมูล คำเชื่อมแสดงความสัมพันธ์แบบขัดแย้ง คำเชื่อมแสดงความสัมพันธ์แบบเป็นเหตุ คำเชื่อมแสดงความสัมพันธ์แบบเป็นผล คำเชื่อมแสดงความมุ่งหมาย คำเชื่อมแสดงความสัมพันธ์แบบต่างตอนกัน และคำเชื่อมแสดง ความสัมพันธ์แบบเงื่อนไข การเชื่อมโยงความด้วยการใช้คำศัพท์ พบการเชื่อมโยงความด้วยคำศัพท์ ๖ ประเภท ได้แก่ การใช้คำสัมพันธ์กัน การกล่าวซ้ำหรือซ้ำคำเดิม การใช้คำจ่ากลุ่ม - คำลูกกลุ่ม การใช้คำตรงกันข้าม การใช้คำพ้องความหมาย และการใช้คำที่เป็นส่วนประกอบของหน่วยใหญ่-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to investigate the discourse of travelogues in OR. SOR. THOR, magazines regarding of the kind of narrative discourse. Longacre’s ( 1983 ) framework is used, in that there are temporal sequence of narrating an agent orientation in the discourse. The following are the points of concentration in the study ;the consist of travelogues, an examining devices that use for narrating and study of cohesion in three types ; reference, conjunction, and lexical cohesion. It appears that travelogues in OR.SOR.THOR use a device of narrating are contingent temporal succession and agent orientation. And the study found that travelogue in OR.SOR.THOR. are consisting of four elements ; leading , body, conclusion, and terminus. The result of the cohesion study in chapter four shows that reference cohesion can be classified into two type ; prominal reference, demonstrative reference. Conjunction cohesion can be classified into eight types of connector ; temporal relation, adversative relation, contrastive relation, additive relation, relation of purpose, causal relation, relation of result, and conditional relation. The study of lexical cohesion found that there are six types; reiteration, synonymy, hyponymy and CO - hyponymy, meronymy and CO -meronymy, collocation, and antonymy.-
dc.format.extent2334335 bytes-
dc.format.extent1368647 bytes-
dc.format.extent6968063 bytes-
dc.format.extent13380718 bytes-
dc.format.extent12503032 bytes-
dc.format.extent2343064 bytes-
dc.format.extent8475372 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.1458-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวจนะวิเคราะห์-
dc.subjectภาษาไทย -- วจนะวิเคราะห์-
dc.subjectการท่องเที่ยว -- วารสาร-
dc.subjectอ.ส.ท. young traveller-
dc.subjectDiscourse analysis-
dc.subjectThai language -- Discourse analysis-
dc.subjectTravel -- Periodicals-
dc.subjectOr.Sor.Thor. young traveller-
dc.titleปริจเฉทสารคดีท่องเที่ยวในอนุสาร อ.ส.ท.en
dc.title.alternativeDiscourse of travelogues in Or.Sor.Thor. magazineen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineภาษาไทยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.1458-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Munchusa_au_front.pdf2.28 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_ch1.pdf1.34 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_ch2.pdf6.8 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_ch3.pdf13.07 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_ch4.pdf12.21 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_ch5.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open
Munchusa_au_back.pdf8.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.