Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23911
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิจิตร ตัณฑสุทธิ์
dc.contributor.advisorสฤทธิ์เดช พัฒนาเศรษฐพงษ์
dc.contributor.authorสมหวัง วิทยาปัญญานนท์
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
dc.date.accessioned2012-11-13T07:15:25Z
dc.date.available2012-11-13T07:15:25Z
dc.date.issued2530
dc.identifier.isbn9745671657
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23911
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2530en
dc.description.abstractการประยุกต์การโปรแกรมไดนามิคสำหรับการออกแบบขอบเขตบ่อเหมืองขั้นสุดท้ายที่เหมาะสม โดยใช้แนวความคิดเรื่องบล๊อก ได้มีการพัฒนามาแล้วสองวิธีการ อย่างไรก็ตามวิธีการทั้งสองนี้ยังคงไม่สามารถรักษาเงื่อนไขเสถียรภาพความลาดแบบสามมิติในขอบเขตบ่อเหมืองขั้นสุดท้าย ดังนั้นวิธีการออกแบบเหล่านี้จำเป็นต้องพัฒนาต่อไปเพื่อให้เหมาะสมกับการใช้งานยิ่งขึ้น จากการวิจัยครั้งนี้ วิธีการออกแบบที่ปรับปรุงมีสามขั้นตอนดังนี้ การกำหนดหลักเกณฑ์การพิจารณาเงื่อนไขเสถียรภาพความลาดแบบสามมิติเป็นแบบกากบาทและแบบดาว การพัฒนาด้านความสัมพันธ์ทางคณิตศาสตร์ของขอบเขตการเลือกบล๊อกในแต่ละระดับก้นบ่อเหมืองของภาพตัดขวาง สำหรับการควบคุมความลาดของบ่อเหมืองแบบสามมิติ และการประยุกต์เส้นทางเลือกต่าง ๆ ของการโปรแกรมไดนามิคในภาพตัดด้านยาวสำหรับการเลือกลำดับการทำเหมือง จากการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างวิธีการเดิมทั้งสองและวิธีการที่ปรับปรุง โดยการใช้ข้อมูลชุดเดียวกันในการทดสอง ผลจากการศึกษาแสดงให้เห็นว่า ขอบเขตบ่อเหมืองขั้นสุดท้ายจากการคำนวณโดยวิธีการเดิมทั้งสองไม่สามารถรักษาเงื่อนไขเสถียรภาพความลาดแบบสามมิติทั้งแบบกากบาทและแบบดาว จากการใช้วิธีการที่ปรับปรุงขอบเขตบ่อเหมืองที่ได้สามารถแสดงการรักษาเงื่อนไขเสถียรภาพความลาดแบบสามมิติของแบบกากบาทหรือแบบดาวในทุก ๆ ลำดับการทำเหมือง เพื่อให้เหมาะสมกับด้านการวางแผนการผลิตหรือด้านความสามารถในการขุด นอกจากนี้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ได้จากการวิจัยสามารถนำไปใช้งานในการออกแบบขอบเขตบ่อเหมืองในการทำเหมืองผิวดินทุกประเภท อย่างไรก็ตามจากข้อจำกัดด้านหน่วยความจำของไมโครคอมพิวเตอร์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเขียนขึ้นมาสำหรับแร่เพียงชนิดเดียวเท่านั้นในแหล่งแร่
dc.description.abstractalternativeApplication of dynamic programming for optimization of ultimate pit limit design by using block concept, was previously developed in two methods. However, both methods can not cover the three dimensional slope stability conditions in ultimate pit limit. Therefore, the design methods need to be further developed to cover more scopes of applications. According to this research, the modified design method is developed in three steps as follows, the definition of three dimensional slope stability conditions in cross and star stripping types, the modified mathematical equation for feasible regions of block selection in each pit bottom of cross sections for three dimensional pit slope control and, the application of alternative decision paths of dynamic programming in longitudinal section for selection of mining sequences. The comparative study among the previous methods and the modified method has been carried out by using test data. The result of the study showing that the ultimate pit limit of the previous methods can not maintain the three dimensional slope stability conditions, both in cross and star stripping types. By the modified method application, pit limit contours can show the cross or star stripping types of three dimensional slope stability conditions in all mining sequences, to suit the production scheduling or stripping capacity. Furthermore, the computer programme from this research can be applied to all types of pit limit design in surface mining. However, due to the limitation of microcomputer’s memory, the programme is designed to handle the deposit of only one ore type.
dc.format.extent4906800 bytes
dc.format.extent1881847 bytes
dc.format.extent1810661 bytes
dc.format.extent10774683 bytes
dc.format.extent17982741 bytes
dc.format.extent1242599 bytes
dc.format.extent1020196 bytes
dc.format.extent31670261 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการออกแบบที่เหมาะสมที่สุดสำหรับขอบเขตบ่อเหมืองหาบen
dc.title.alternativeOptium design of open PIT limitsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somwang_wi_front.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch1.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch2.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch3.pdf10.52 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch4.pdf17.56 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch5.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_ch6.pdf996.29 kBAdobe PDFView/Open
Somwang_wi_back.pdf30.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.