Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23955
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.authorจิตติมา จรูญสิทธิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-13T10:14:49Z-
dc.date.available2012-11-13T10:14:49Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741730675-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23955-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์(พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง และมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเอง และเปรียบเทียบจำนวนผู้ป่วยที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ และคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวาน ระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฯ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับการรักษาที่คลินิกเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนายายอาม จำนวน 40 คน สุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม โดยคำนึงถึงเรื่องเพศและชนิดยาเบาหวาน ให้เหมือนกันทั้ง 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 20 คน และกลุ่มควบคุม 20 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองร่วมกับการพยาบาลตามปกติ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติและคู่มือการปฏิบัติตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดด้วยตนเอง เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการจัดการตนเอง ที่พัฒนาโดยผู้วิจัย และเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามคุณภาพชีวิต ซึ่งผ่านการตรวจสอบความเหมาะสมของการจัดกิจกรรม ความตรงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน และวิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของเครื่องมือ ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค เท่ากับ .83 วิเคราะห์ข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน แมคนีมาร์ ไคสแควร์ และการทดสอบที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองมีมากกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานภายหลังได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. จำนวนผู้ป่วยเบาหวานที่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฯ ไม่มีความแตกต่าง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานในกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were 1) to compare the number of patients who could control blood sugar and quality of life of disbetes mellitus patients in the experimental group before and after received the program and 2) to compare the number of patients who could control blood sugar and quality of life mellitus patients between the experimental group and control group. Forty type 2 diabetes mellitus patients in the Diabetes Clinic at Out-Patient Department, Nayaiam Hospital were assigned by matched pair into either experimental or control group. There were 20 patients in each group. The experimental instrument was the self management p ogram tested for validity. The instrument for collecting data was Quality of Life Questionnaire tested for both validity and reliability with alpha of .83. Data were analyzed by using mean, standard deviation, McNemar test, chi-square test and t-test. The major findings were as follows: 1. The number of diabetes mellitus patients who could control blood sugar after received the program larger than before received the program at p-value of .05. 2. The quality of life of diabetes mellitus patients after received program was significantly higher than those before received the program at p-value of .05. 3. The number of diabetes mellitus patients who could control blood sugar between the experiment group and control group after experiment was not significant difference at p-value of .05. 4. The quality of life of diabetes mellitus patients in experiment group was significantly higher than those in control group at p-value of .05.-
dc.format.extent2381749 bytes-
dc.format.extent4845159 bytes-
dc.format.extent13944736 bytes-
dc.format.extent3870551 bytes-
dc.format.extent1831346 bytes-
dc.format.extent3616844 bytes-
dc.format.extent7230590 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน-
dc.subjectน้ำตาลในเลือด -- การควบคุม-
dc.subjectDiabetics-
dc.subjectBlood sugar -- Control-
dc.titleผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยเบาหวานen
dc.title.alternativeEffects of self management program on blood sugar control and quality of life among diabetes mellitus patiemtsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jittima_ja_front.pdfหน้าปกและบทคัดย่อ2.33 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_ch1.pdfบทที่ 14.73 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_ch2.pdfบทที่ 213.62 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_ch3.pdfบทที่ 33.78 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_ch4.pdfบทที่ 41.79 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_ch5.pdfบทที่ 53.53 MBAdobe PDFView/Open
Jittima_ja_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก7.06 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.