Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุบล เบญจรงค์กิจ-
dc.contributor.advisorไชยันต์ ไซยพร-
dc.contributor.authorสรรเสริญ ประเสริฐสุด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-14T07:10:29Z-
dc.date.available2012-11-14T07:10:29Z-
dc.date.issued2538-
dc.identifier.isbn9746327526-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24069-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษา 1) นโยบายและการดำเนินงานของกระทรวงการต่างประเทศด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศ เน้นศึกษา นโยบาย แผนงาน และกิจกรรมที่ต้องใช้สื่อต่าง ๆ 2) ความคิดเห็นของชนชั้นนำต่อ “นโยบาย” ด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศของกระทรวงการต่างประเทศ 3) ความคิดเห็นของชนชั้นนำต่อ “การปฏิบัติงาน” ด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศของกระทรวงการต่างประเทศ เป้าหมายในการศึกษาคือ ข้าราชการกระทรวงการต่างประเทศ จำนวน 7 คน และประชาชนในระดับชนชั้นนำจากกลุ่มต่าง ๆ จำนวน 40 คน ดังนี้ กลุ่มที่ 1 นักธุรกิจ นักบริหาร 15 คน กลุ่มที่ 2 อาจารย์ นักวิชาการ 15 คน กลุ่มที่ 3 สื่อมวลขน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสัมภาษณ์ การนำเสนอผลการวิจัยใช้วิธีบรรยายและตาราง ผลการวิจัยที่ได้มีดังต่อไปนี้ 1. นโยบายด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศของกระทรวงการต่างประเทศสรุปได้ 3 ข้อดังนี้ - ส่งเสริมภาพลักษณ์ที่ดีงามและถูกต้องของประเทศไทย - ดำเนินการประชาสัมพันธ์ประเทศอย่างเป็นเอกภาพและต่อเนื่อง เพื่อให้นานาประเทศเกิดความเข้าใจที่ถูกต้องต่อประเทศไทย - กระชับความสัมพันธ์ด้านวัฒนธรรมกับนานาประเทศที่เรียกว่า “การทูตด้านวัฒนธรรม” 2. ชนชั้นนำส่วนใหญ่มีความเห็นว่า นโยบายด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศของกระทรวงการต่างประเทศควรจะต้องได้รับการปรับปรุงให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ในโลกยุคปัจจุบัน โดยควรกำหนดนโยบายทางด้านนี้ให้เด่นชัดและมีนโยบายเชิงรุกมากขึ้น 3. ชนชั้นนำส่วนใหญ่มีความเห็นว่า กระทรวงการต่างประเทศได้มีความพยายามในการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศ แต่ยังไม่ประสบผลสำเร็จเท่าที่ควร อันเนื่องมาจากข้อจำกัดทางด้านงบประมาณและระบบราชการ โดยมีเงื่อนไขทางสังคมได้แก่ ปัญหาสังคมที่มีอยู่จริงเป็นตัวแปรที่สำคัญ นอกจากนี้ยังเห็นว่ากระทรวงการต่างประเทศควรเน้นบทบาทการเป็น “ผู้ประสานงาน” ให้มากขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to study: 1) Thailand public relations policy and practices, emphasized planning and activities of The Ministry of Foreign Affairs. 2) Elites’ opinion about Thailand public relations policy of the Ministry of Foreign Affairs. 3) Elites’ opinion about the practices of The Ministry of Foreign Affairs in promoting Thailand. The respondents were seven administrative officers of The Ministry of Foreign Affairs and factory elites from the following: 1) Executives from private sectors (15 cases) ; 2) Academics form universities (15 cases); and 3) Reporters of foreign news (10 cases). The Instrument used in data gathering were related documents and indepth interviewing. Qualitative method was employed to present the research results. Results were as follows: 1. Thailand public relations policy of The Ministry of Foreign Affairs includes - Promoting good images of Thailand. - Keeping unity and continuous practices in doing public relations for good understanding of Thailand. - Establishing the good relations with other countries by “Cultural Diplomacy”. 2. Most of the elites believed that Thailand PR policy implemented by The Ministry of Foreign Affairs should be congruent to the world situation at present. 3. Most of the elites saw the attempt of The Ministry of Foreign Affairs in many aspects to promote the good image of the country. However, the attempt was not quite successful effected by factors such as budget, bureaucratic system, social problems and other current situations in Thai society. Moreover, they suggested that the role of “coordinator” should be more emphasized in the PR process.-
dc.format.extent3858216 bytes-
dc.format.extent3693682 bytes-
dc.format.extent13174302 bytes-
dc.format.extent1569903 bytes-
dc.format.extent25742432 bytes-
dc.format.extent10447432 bytes-
dc.format.extent13692308 bytes-
dc.format.extent50809671 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระทรวงการต่างประเทศ-
dc.subjectการประชาสัมพันธ์-
dc.subjectภาพลักษณ์-
dc.subjectนโยบายต่างประเทศ-
dc.subjectไทย -- ความสัมพันธ์กับต่างประเทศ-
dc.titleนโยบายและการดำเนินงานด้านการประชาสัมพันธ์ประเทศ ของกระทรวงการต่างประเทศen
dc.title.alternativeThe public relations of Thailand : policy and practices of the Ministry of Foreign Affairsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการประชาสัมพันธ์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sunsurn_pr_front.pdf3.77 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch1.pdf3.61 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch2.pdf12.87 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch3.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch4.pdf25.14 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch5.pdf10.2 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_ch6.pdf13.37 MBAdobe PDFView/Open
Sunsurn_pr_back.pdf49.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.