Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24171
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรุณี สุรสิทธิ์-
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ ขยันการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2012-11-15T09:46:08Z-
dc.date.available2012-11-15T09:46:08Z-
dc.date.issued2529-
dc.identifier.isbn9745667676-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24171-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2529en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษาตามการรับรู้ของครูและนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการสุขศึกษาสายการศึกษา เขตการศึกษา 8 และเพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษาตามการรับรู้ของครูและนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการสุขศึกษาสายการศึกษา เขตการศึกษา 8 ผู้วิจัยได้สร้างแบบสอบถามขึ้น 2 ชุด และส่งไปยังครูสุขศึกษา 60 คน และนักเรียน 360 คน ได้รับแบบสอบถามจากครูสุขศึกษาคืนมา 53 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 88.33 และจากนักเรียน 232 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 64.44 นำแบบสอบถามมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าที (t-test) ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. ครูและนักเรียนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นสอดคล้องกันและเห็นด้วยว่าครูสุขศึกษามีพฤติกรรมการสอนอยู่ในระดับมาก 6 ด้านคือ ด้านการจูงใจและเสริมแรงการเรียน ด้านการใช้เสียงพูดและการใช้ภาษา ด้านการมอบหมายงานให้ทำด้านวินัยและการควบคุมชั้นเรียน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียน ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียน และครูสุขศึกษามีพฤติกรรมการสอนอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้านคือ ด้านการดำเนินการสอน ด้านใช้สถานที่และสื่อการเรียน 2. เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษาตามการรับรู้ของครูและนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการสุขศึกษาสายการศึกษา เขตการศึกษา 8 พบว่าไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ในทุกด้าน
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study are twofolds: (a) to find out teaching behavior in health education subjects perceived by the teachers and the students at the lower secondary schools in health education project in the Educational Region 8; and. (b) to compare the consequent teaching behavior affecting by the perceptions thus perceived by the teachers and the students in health education subjects in lower secondary schools in the Educational Region 8. The sets of questionnaires were developed and mailed to 60 health education teachers and 36o students accordingly. 53 questionnaires from health education teachers and 232 questionnaires from the students were returned, representing a percentage of 88.33 and 64.44 respectively. The returned questionnaires were statistically analyzed by means of percentage, means, standard deviations, and t-test. The findings revealed the following: 1. Both teaching behavior in health education subjects as perceived by the teachers and the students were relatively “high” on 6 aspects, namely, motivation and reinforcement, voice and language used, assignments, discipline and classroom control, and evaluation. Teaching behavior was perceived as “moderate” on teacher-student interaction, and on the use of teaching aids and the arrangement of physical classroom settings. 2. There was no significant statistical difference at the level of .05 on teaching behavior in health education subjects as perceived by the teachers and the students.
dc.format.extent431201 bytes-
dc.format.extent498544 bytes-
dc.format.extent864667 bytes-
dc.format.extent387533 bytes-
dc.format.extent758757 bytes-
dc.format.extent942091 bytes-
dc.format.extent1040250 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสุขศึกษา -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)
dc.subjectการสอน
dc.titleพฤติกรรมการสอนวิชาสุขศึกษา ตามการรับรู้ของครูและนักเรียนในโรงเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ในโครงการสุขศึกษาสายการศึกษา เขตการศึกษา 8en
dc.title.alternativeTeaching behavior in health education subjects as perceived by instructors and students in the lower secondary schools in school health education project, educational region 8en
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kittisak_ka_front.pdf421.09 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_Ch1.pdf486.86 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_Ch2.pdf844.4 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_Ch3.pdf378.45 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_Ch4.pdf740.97 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_Ch5.pdf920.01 kBAdobe PDFView/Open
Kittisak_ka_back.pdf1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.