Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2418
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดวงใจ กสานติกุล-
dc.contributor.authorดารุวรรณ โรจนสุพจน์, 2503--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-09-12T07:37:32Z-
dc.date.available2006-09-12T07:37:32Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740312314-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2418-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ต่อภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้าของนักศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอุเทนถวาย ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การคัดเลือกและสมัครใจเข้าร่วมการทดลอง จำนวน 60 คน ใช้วิธีสุ่มอย่างแบบง่าย แบ่งกลุ่มตัวอย่างเป็น 2 กลุ่มๆ ละ 30 คน คือ กลุ่มทดลองจะได้รับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม โดยผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม สัปดาห์ละ 1 ครั้งๆ ละ 1 ชั่วโมง 30 นาที รวม 4 ครั้ง กลุ่มควบคุมเข้ากลุ่มกิจกรรมจากชั่วโมงแนะแนวของสถานศึกษาตามปกติ สัปดาห์ละ 1 ครั้งๆ ละ 1 ชั่วโมง 30 นาที รวม 4 ครั้ง นักศึกษาแต่ละคนจะได้รับการประเมินภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้า ก่อนและหลังการทดลองโดยแบบประเมินปัญหาสุขภาพ HRSR ของ Kasantikul et al. (1997) ซึ่งทดสอบความเชื่อมั่นของทั้งฉบับได้ค่า 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยการทดสอบค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองนักศึกษาในกลุ่มทดลอง มีค่าเฉลี่ยของคะแนนภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้าลดลง และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 นักศึกษาในกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยของคะแนนภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้า ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อเปรียบเทียบทั้งสองกลุ่มพบว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้า ของนักศึกษาในกลุ่มทดลองน้อยกว่าในกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001en
dc.description.abstractalternativeTo determine the effects of group counseling on anxiety-depressive state of the student. The subjects were 60 volunteers and eligible criteria student from Rajamangala Institute of Technology Uthentawai Campus. They were randomly assigned into 2 equal groups, each for 30 student. The student in the experimental group attended 4 group counseling sessions, once a week, each session for 1 1/2 hour, led by the by the researcher, while the student in the control group attended 4 group routine guidance service sessions, once a week, each session for 1 1/2 hour. The instrument used to measure anxiety-depressive state scores of both groups before and after the experiment was the HRSR scale (Kasantikul et al. 1997), tested reliability=0.90. Data were analyzed to determine statistical significance by using t-test. The result indicated that: the mean anxiety-depressive state score after the experiment was decreased significantly (p<.001) in the experimental group but not significantly decreased (p>.05) in the controlgroup and the mean anxiety-depressive state score of the experimental group was statistically lower than the control group. (p<.001).en
dc.format.extent1054272 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen
dc.subjectความซึมเศร้าในวัยรุ่นen
dc.subjectความวิตกกังวลในวัยรุ่นen
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มต่อภาวะวิตกกังวล-ซึมเศร้า ของนักศึกษาสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอุเทนถวายen
dc.title.alternativeEffects of group counseling on anxiety-depressive state of Rajamangala Institute of Technology Uthentawai Campus studentsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDuangjai.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
DaruwanRo.pdf972.91 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.